รายงานอบรมเชิง ...edu.bsru.ac.th/files/183/MKO7/2558/MA1_1-14.pdf ·...

Post on 10-Jul-2020

6 views 0 download

Transcript of รายงานอบรมเชิง ...edu.bsru.ac.th/files/183/MKO7/2558/MA1_1-14.pdf ·...

รายงานอบรมเชิงปฏิบัติการ “อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ระบบประกันคุณภาพการศึกษาและการ

เตรียมความพร้อมสู่การเป็นครใูนศตวรรษที่ ๒๑” ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

หลักการและเหตุผล ในศตวรรษท่ี 21 เราจะต้องสนใจในเทคโนโลยีต่างๆ ที่มีเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเป็นแบบบูรณาการ โดยมีนวัตกรรมและเทคโนโลยี ICT ซึ่งจะใช้ระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ยุคใหม่ (Social Network) มาสนับสนุนการเรียนรู้ และการบริหารจัดการทั้งด้าน วิชาการ บุคคล งบประมาณ และการบริหารงาน

2

ทั่วไป เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กยุคใหม่ด้วยสารสนเทศรอบด้าน โรงเรียนที่มีความพร้อมสูงจะสามารถจัดแหล่งเรียนรู้ด้วยระบบ E-Classroom, E-Learning, E-Library, E-Office, E-Student, E-Service และเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการจัดการจัดการห้องเรียน ห้องสมุด และสื่อสังคมสมัยใหม่ ท าให้สามารถยกระดับคุณภาพสถานศึกษาสู่ยุคใหม่ให้มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ครูแห่งอนาคตในศตวรรษที่ 23 จึงหมายถึง ครูที่สามารถจัดการเรียนรู้ด้วยระบบสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับแหล่งเรียนรู้ได้ท่ัวโลกผ่านทางอินเทอร์เน็ต และสามารถจัดการเรื่องเอกสารได้ทุกรูปแบบ เช่น Word, Excel, File Multimedia ต่างๆ โดยผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีการสื่อสาร และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะท าให้การเรียนการสอนนั้นมีประสิทธิภาพ และยังสามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงสื่อการสอนจากห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-Classroom ซึ่งสามารถสืบค้น ใช้ซ้ า ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และพัฒนาขึ้นใหม่ได้ตลอดเวลา นับเป็นแหล่งสืบค้นความรู้ของนักเรียนที่จะสามารถน าสื่อต่างๆ ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ยุคใหม่ Social Network จากเหตุดังกล่าว คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ จึงริเริ่มโครงการดังกล่าว โดยได้มีการประชุมปรึกษากันระหว่างคณาจารย์ในสาขา ซึ่งมีมติให้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูในศตวรรษท่ี 21 ” และได้ทราบถึงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาตลอดจนให้บัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์ที่ส าเร็จการศึกษาแล้วได้ท าการเปลี่ยนแปลงประสบการณ์ในการประกอบอาชีพครูในอนาคต และสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างนิสิตรุ่นพี่และรุ่นน้อง อีกท้ังยังเป็นการแนะแนวทางการใช้ชีวิตในนอกรั้วมหาวิทยาลัยให้กับว่าที่บัณฑิตครูในอนาคต ซึ่งท าให้นิสิตสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้เป็นอย่างดี วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือเป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมส าหรับนิสิตในการสอบบรรจุครู 2. เพื่อสร้างความเข้าใจระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 3. เพื่อสานสัมพันธ์และสร้างเครือข่ายการท างานในวิชาชีพครู กลุ่มเป้าหมาย 1. ผู้เข้าร่วมการอบรม ได้แก่ นิสิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 5 (รหัส 54) จ านวน 450 คน 2. ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้แก่ คณาจารย์ในสาขาคณิตศาสตร์จ านวน 13 คน ผลการด าเนินงาน สรุปการจัดท าโครงการการระบบประกันคุณภาพการศึกษาและการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูในศตวรรษท่ี ๒๑” ด้านปริมาณ

3

จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ 300 คน ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย ด้านคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับระบบประกันคุณภาพการศึกษา 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความท่ีจะไปประกอบอาชีพครูในอนาคต ข้อเสนอแนะ ควรมีระยะเวลาในการจัดโครงการให้มากกว่านี้

4

ผลการประเมินโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ระบบประกันคุณภาพการศึกษาและการเตรียมความ

พร้อมสู่การเป็นครูในศตวรรษที่ ๒๑ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ เพศ จ านวน ร้อยละ

ชาย 125 41.67

หญิง 175 58.33

รวม 300 100

จากการสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 300 คน ซึ่งมีนิสิตพบว่ามีผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็นเพศชายจ านวน 125 คน เพศหญิง 175 คน คิดเป็นร้อยละ 41.67 และ 58.33 ตามล าดับ

วุฒิการศึกษา จ านวน ร้อยละ

ต่ ากว่าปริญญาตรี 300 100

สูงกว่าปริญญาตรี 0 0

รวม 300 100

วุฒิการศึกษาของผู้ที่เข้าร่วมโครงการส่วนมากจบต่ ากว่าปริญญาตรี 300 คน คิดเป็นร้อยละ 100

อายุ จ านวน ร้อยละ

5

20-40 ปี 300 100

41 ปีขึ้นไป 0 0

รวม 300 100

ส่วนมากผู้เข้าร่วมโครงการมีอายุอยู่ระหว่าง 20 – 40 ปี จ านวน 300 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจโครงการ

รายการ จ านวนระดับความคิดเห็น

X S.D. มากทีสุ่ด มาก ปาน กลาง

น้อย น้อยทีสุ่ด

1. การประชาสัมพันธ์โครงการ 191 109 0 0 0 4.64 0.48

2. ความเหมาะสมของสถานที่จัดโครงการ 167 133 0 0 0 4.56 0.5

3. ความเหมาะสมของระยะเวลาที่จัดโครงการ

192 104 4 0 0 4.63 0.51

4. ความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร 165 135 0 0 0 4.55 0.5

5. วิทยากรอธิบายและชี้ประเด็นต่าง ๆ เข้าใจอย่างชัดเจน

180 120 0 0 0 4.6 0.49

6. วิทยากรเปิดโอกาสในการถามตอบ 151 149 0 0 0 4.5 0.5

7. ความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร 163 137 0 0 0 4.54 0.5

8. วิทยากรอธิบายและชี้ประเด็นต่าง ๆ เข้าใจอย่างชัดเจน

165 135 0 0 0 4.55 0.5

9. วิทยากรเปิดโอกาสในการถามตอบ 155 141 4 0 0 4.5 0.53

6

รายการ จ านวนระดับความคิดเห็น

X S.D. มากทีสุ่ด มาก ปาน กลาง

น้อย น้อยทีสุ่ด

10. ความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร 167 133 0 0 0 4.56 0.5

11. วิทยากรอธิบายและชี้ประเด็นต่าง ๆ เข้าใจอย่างชัดเจน

170 130 0 0 0 4.57 0.5

12. วิทยากรเปิดโอกาสในการถามตอบ 160 140 0 0 0 4.53 0.5

13. สื่อ/โสตทัศนูปกรณ์ 134 166 0 0 0 4.45 0.5

14. อาหารว่างและเครื่องดื่ม 155 145 0 0 0 4.52 0.5

15. ระดับความรู้ก่อนเข้าร่วมโครงการ 0 0 147 153 0 2.49 0.5

16. ระดับความรู้หลังเข้าร่วมโครงการ 152 145 3 0 0 4.5 0.52

17. ท่านสามารถน าสิ่งที่ได้รับจากโครงการไปใช้ให้เกิดประโยชน์

157 143 0 0 0 4.52 0.5

18. สิ่งที่ได้รับจากโครงการตรงตามความคาดหวังของท่าน

165 135 0 0 0 4.55 0.5

19. ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมในการจัดโครงการครั้งนี้

154 146 0 0 0 4.51 0.5

รวม 4.43 0.68

7

เอกสารขออนุมัติโครงการ และค าสั่งการด าเนินโครงการ

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28