ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ...

133
ปญหาการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก โดย นางสาวชลภัสร งอกนาวัง วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก 2561

Transcript of ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ...

Page 1: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

ปญหาการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก

โดยนางสาวชลภัสร งอกนาวัง

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชากฎหมายธุรกิจมหาวิทยาลัยเกริก2561

Page 2: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

Problems in the Security Business of the War Veterans Organization of Thailand

ByMs.Chonrapat Ngoknawang

A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the RequirementFor the Degree of Master of Laws in Business Law

Faculty of LawKRIRK UNIVERSITY

2018

Page 3: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

ชื่อวิทยานิพนธ ปญหาการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก

ชื่อผูเขียน นางสาวชลภัสร งอกนาวังชื่อปริญญา นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายธุรกิจอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ รองศาสตราจารย ไฉไล ศักดิวรพงศปการศึกษา 2561

บทคัดยอ

วิทยานิพนธฉบับนี้มีวัตถุประสงคในการวิเคราะหกรณีปญหาอันเกิดขึ้นจากการประกาศกําหนดหนวยงานของรัฐท่ีไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 โดยกําหนดใหองคการสงเคราะหทหารผานศึกซึ่งเปนองคกรจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองคกรสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2510สามารถใหบริการรักษาความปลอดภัยโดยไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกอยูภายใตระเบียบสํานักงานรักษาความป ลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550 จากการศึกษาพบวาการไดรับการยกเวนไมอยูภายใตกํากับดูแลตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558เปนการกอใหเกิดการแขงขันอยางไมเปนธรรมในธุรกิจรักษาความปลอดภัย ซึ่งขัดตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 40 เนื่องจากมีเฉพาะองคการสงเคราะหทหารผานศึกเทานั้นท่ีไมตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ไมเปนธรรมตอผูประกอบกิจการรายอื่นๆ ท่ีตองปฏิบัติตามขอกําหนดและมีการกําหนดโทษหากไมปฏิบัติตาม บริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงานรักษาความปลอดภัยตองจายคาธรรมเนียมตางๆ ตามท่ีกฎหมายบัญญัติดวย อีกท้ังการกําหนดยกเวนดังกลาวยังทําใหมาตรฐานการกํากับดูแลบริการรักษาความปลอดภัยไมเปนมาตรฐานเดียวกัน เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยมี

(1)

Page 4: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

คุณภาพชีวิตท่ีไมเทาเทียมในดานสวัสดิการประกันสังคม และกระทบสิทธิผูบริโภคท่ีตองไดรับบริการท่ีมีมาตรฐานตามท่ีกฎหมายใหการคุมครองผูศึกษาจึงเห็นควรเสนอแนวทางแกไขปญหาโดยการยกเลิกประกาศกําหนดยกเวนหนวยงานองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยดังกลาว และใหองคการสงเคราะหทหารผานศึกประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยภายใตพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

(2)

Page 5: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

Thesis Title Problems in the Security Business of the WarVeterans Organization of Thailand

Author’s Name Miss Chonrapat NgoknawangDegree Master of LawsThesis Advisor Assoc. Prof.Chailai SakdivorapongAcademic Year 2018

ABSTRACT

The objective of this thesis is to analyse the problem cases occurring from thenotification to determine the government agencies not being the security business inaccordance with the Act of Security Business B.E.2558 defining the War VeteransOrganization which is the organization founded in accordance with the Act of WarVeterans organization B.E.2510 to be able to provide the security services withoutbeing the security business in accordance with the Act of Security Business B.E.2558.The security guards of War Veterans organization are under the regulations of Securityoffice. War Veterans organization, on the security guards, Security Office, WarVeterans Organization, B.E.2550. According to the study, it is found that theexemption of War Veterans Organization not to be under the Supervision inaccordance with the Act of Security Business B.E.2558 generates the unfaircompetition in the security business which is against the Constitution of Kingdom ofThailand B.E.2560. Chapter 3 Rights and Freedom of Thai People, Section 40. As onlythe War Veterans organization does not have to conform to the Act of SecurityBusiness B.E.2558 which is unfair to other business operators who have to conform to

(3)

Page 6: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

the requirements and there are the punishments in case of non-conformity. Thelicensed security companies and the security offices have to pay for the fees asprescribed by the law. Moreover, such exemption also makes the standards ofsupervision on the security service provision not be in the same standard as thesecurity guards have the quality of life unequally in terms of social security and itaffects the rights of consumers in having to receive the services which are standardizedas protected by law. From this reason, the researcher considers appropriate to proposethe approaches of problem solution by cancelling the notification to exempt the WarVeterans Organization not to be the security business in accordance with such the Actof Security Business and to let the War Veterans Organization to operate the securitybusiness under the Act of Security Business B.E.2558.

(4)

Page 7: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

(5)

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก รองศาสตราจารยไฉไลศักดิวรพงศ ท่ีอนุเคราะหใหความเมตตารับเปนอาจารยท่ีปรึกษา ใหความเสนอแนะแนวคิดตลอดจนแกไขขอบกพรองตางๆ มาโดยตลอด จนวิทยานิพนธฉบับนี้เสร็จสมบูรณผูเขียนมีความซาบซึ้งใจเปนอยางย่ิง และขอกราบขอบพระคุณทานอาจารยไว ณ ท่ีนี้ดวย

ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารยกัลยา ตันศิริ ท่ีสละเวลาอันมีคาในการรับเปนประธานกรรมการ รองศาสตราจารยจุฑามาศ นิศารัตน และศาสตราจารย ดร. พลตํารวจตรีจักรพงษ วิวัฒนวานิช กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งทานท้ังสามไดใหความรู ชี้แนะแนวทางตลอดจนขอคิดเห็นตางๆ ในการทําวิทยานิพนธฉบับนี้

นอกจากนี้ ผูเขียนขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ท่ีสงเสริมและสนับสนุนใหไดศึกษาเลาเรียน ตลอดจนคอยชวยเหลือและใหกําลังใจเสมอมาจนสําเร็จการศึกษารวมไปถึงขอขอบคุณเพื่อนในชั้นปริญญาโททุกคนท่ีคอยผลักดันเปนกําลังใจและใหคําแนะนําชวยเหลือผูเขียนในการทําวิทยานิพนธฉบับนี้

หากวิทยานิพนธฉบับนี้จะมีประโยชนตอผูท่ีไดอาน ผูเขียนขอยกคุณความดีใหแกบิดา มารดา และคณาจารยท่ีไดใหวิชาความรู แตหากมีขอบกพรองประการใ ดผูเขียนขอนอมรับไวแตเพียงผูเดียว

นางสาวชลภัสร งอกนาวังมหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2561

Page 8: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทย (1)บทคัดยอภาษาอังกฤษ (3)กิตติกรรมประกาศ (5)สารบัญ (6)บทท่ี 1 บทนํา 1

1. ความเปนมา และความสําคัญของปญหา 12. วัตถุประสงคของการศึกษา 63. ขอบเขตของการศึกษา 64. สมมติฐานการศึกษา 65. วิธีการศึกษา 76. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 7

บทท่ี 2 ความเปนมา แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของเอกชนและหนวยงานรัฐ และรายงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 81. หลักนิติรัฐ สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 81.1 ความหมายและความเปนมาของหลักนิติรัฐ 81.2 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ตามรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 102. การประกอบธุรกิจบริการรักษาความปลอดภัย 17 2.1 ความหมายของธุรกิจ 18

2.2 ความหมายของธุรกิจบริการ 252.3 ทฤษฎีเก่ียวกับบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจ 38

(6)

Page 9: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

สารบัญ (ตอ)

หนา

2.4 ความเปนมาแนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกับการคุมครองสิทธิของผูบริโภค 42

2.5 ทฤษฎีการบังคับใชกฎหมาย 502.6 วิวัฒนาการและการใหบริการรักษาความปลอดภัย 542.7 ประวัติและความเปนมาขององคการสงเคราะหทหารผานศึก 60

บทท่ี 3 มาตรการทางกฎหมายในธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยและตางประเทศ 621. มาตรการทางกฎหมายในธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการ

สงเคราะหทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ 632. การทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยของบริษัทรักษาความปลอดภัย

ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 703. มาตรการทางกฎหมายเก่ียวกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย

ในตางประเทศ 82บทท่ี 4 วิเคราะหปญหาการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการ

สงเคราะหทหารผานศึก 951. ปญหาเก่ียวกับการแขงขันทางธุรกิจท่ีไมเปนธรรม 96

1.1 ขอไดเปรียบกรณีใบอนุญาตและอายุใบอนุญาตของผูปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัย 97

1.2 ขอไดเปรียบกรณีคาธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558ทายพระราชบัญญัติ 98

2. ปญหาการกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจ 99

(7)

Page 10: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

สารบัญ (ตอ)

หนา

3. ปญหาหนาท่ีจับกุมผูกระทําความผิดตามกฎหมายของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย 102

4. ปญหาการยกระดับคุณภาพชีวิตของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย 1044.1 พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต 1054.2 เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก 106

บทท่ี 5 บทสรุป และขอเสนอแนะ 1091. บทสรุป 1092. ขอเสนอแนะ 114

บรรณานุกรม 118ประวัติผูเขียน 123

(8)

Page 11: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

บทที่ 1บทนํา

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ดวยธุรกิจการใหบริการรักษาความปลอดภัยมีความเก่ียวของใกลชิดกับความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของประชาชน และสงผลตอความสงบเรียบรอยของสังคมและปจจุบันนี้มีผูประกอบธุรกิจการใหบริการรักษาความปลอดภัยเปนจํานวนมากแตมีมาตรฐานในการประกอบธุรกิจท่ีแตกตางกัน จึงไดมีการตราพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 มีผลบังคับใชวันท่ี 5 มีนาคม 2559 เพื่อกําหนดมาตรฐานของธุรกิจรักษาความปลอดภัยและเสริมสรางศักยภาพของพนักงานรักษาความปลอดภัยจะเปนประโยชนแกผูใชบริการและชวยเสริมสรางความสงบเรียบรอยของสังคม 1 ท้ังนี้คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ....ไดมีขอสังเกต ดังนี้

1. เมื่อมีการประกาศใชพระราชบัญญัตินี้ สมควรใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติโดยคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัย ไดกํากับดูแลใหบริษัทธุรกิจรักษาความปลอดภัยมีความเขมแข็งมั่นคง สามารถดําเนินธุรกิจและควบคุมกํากับดูแลตนเองได ในรูปแบบของกลุมหรือสมาคมผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยเชนเดียวกับการประกอบธุรกิจอื่นๆ แลวใหลดบทบาทของสํานักงานตํารวจแหงชาติเพื่อใหธุรกิจรักษาความปลอดภัยสามารถจดทะเบียนดําเนินการกับกระทรวงพาณิช ยแตเพียงแหงเดียวท้ังนี้ เพื่อใหการดําเนินการเปนไปในเชิงธุรกิจโดยแทจริง

1สภานิติบัญญัติแหงชาติ. เอกสารประกอบการพิจารณารางพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. (คณะรัฐมนตรีเปนผูเสนอ) บรรจุระเบียบวาระการประชุมสภานิติบัญญัติแหงชาติ, คร้ังที่ 24/2558, หนา กhttp://www.senate.go.th/document/search0.php (15 พฤษภาคม 2561).

Page 12: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

2

2. การจัดสรรเงินท่ีสํานักงานตํารวจแหงชาติไดรับจากคาธรรมเนียมและคาปรับใหสํานักงานตํารวจแหงชาติ ทําความตกลงกับกระทรวงการคลังในการนําเงินดังกลาวมาเปนคาใชจายในการบริหารงานตามพระราชบัญญัตินี้2

ผูรับบริการรักษาความปลอดภัยมีท้ังในสวนของภาครัฐและภาคเอกชนซึ่งสําหรับภาครัฐก็จะมีหนวยงานทางราชการและหนวยงานรัฐวิสาหกิจตองเพิ่มความระมัดระวังปองกันภัยอยางเขมขนมากขึ้น ท้ังอาคารสถานท่ีและการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ เนื่องจากประเทศไทยท่ีผานมาไดผานเหตุการณการชุมนุม การประทวง และการกออาชญากรรมมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ในสวนของภาคเอกชน ไดแก ธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินตางๆ โรงแรม สถานทูต โรงงานอุตสาหกรรม โครงการท่ีพักอาศัยธุรกิจใหเชาพื้นท่ีจอดรถยนต หางราน ซึ่งเหลานี้ลวนแตเปนกลุมลูกคารายใหญท่ีมีแนวโนมจะจางงานบริษัทรักษาความปลอดภัยมากกวาการจางเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยเปนของผูตองการรับบริการเองเนื่องจากประหยัดคาใชจาย ไมตองบริหารจัดการบุคลากรลดความเสี่ยงดานการประกันภัย เหตุผลเหลานี้เปนสวนหนึ่งท่ีทําใหการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง

ปจจุบันมีมาตรการทางกฎหมายในการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยแลว คือพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 มีการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อพิจารณาและกําหนดหลักเกณฑขอปฏิบัติ มีการประกาศหลักเกณฑตามกฎกระทรวงเพื่อกําหนดเง่ือนไขการประกอบธุรกิจและประกาศหลักเกณฑการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยเรียบรอยแลว เวนแตหนวยงานของรัฐท่ีไดรับยกเวนไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยท่ีจะตองอยูภายใตมาตรการทางกฎหมายในการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย โดยมีประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เร่ืองกําหนดหนวยงานของรัฐท่ีไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

2 สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา. ขอสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. ...http://www.senate.go.th/bill/bk_data/158-5.pdf(15 พฤษภาคม 2561).

Page 13: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

3

ซึ่งกําหนดใหองคการสงเคราะหทหารผานศึกสามารถใหบริการรักษาความปลอดภัยโดยไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยพ.ศ. 25583 องคกรสงเคราะหทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ มีหนวยงานรับผิดชอบดานการบริการรักษาความปลอดภัยคือ สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกในพระบรมราชินูปถัมภ กลุมเปาหมายของผูรับบริการรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก มีท้ังบุคคล สถานท่ีราชการ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานของรัฐ ตลอดจนธุรกิจของเอกชน4

องคการสงเคราะหทหารผานศึก (The War Veterans Organization of Thailand)เรียกโดยยอวา "อผศ." จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึกพ.ศ.2491 ปรับปรุงโดยพระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2510 และปรับปรุงอีกคร้ังโดยพระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.25605 มีฐานะเปนองคการของรัฐเพื่อการกุศล แตมิใชรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ มีวัตถุประสงคเพื่อสงเคราะหทหารผานศึก ครอบครัวทหารผานศึก และทหารนอกประจําการ6

องคการสงเคราะหทหารผานศึก นอกจากเปนหนวยงานของรัฐท่ีไดรับการยกเวนยังเปนหนวยงานของรัฐผูใหบริการรักษาความปลอดภัยแกผูวาจางท้ังภาครัฐและภาคเอกชนเพียงรายเดียวแตไมไดมีมาตรการทางกฎหมายในการกํากับดูแลการใหบริการรักษาความปลอดภัยเชนเดียวกับภาคเอกชน และปจจุบันการรับเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกไมไดมีเฉพาะทหารผานศึก หรือทหารปลดประจําการ แตบุคคลธรรมดาท่ีไมเคยผานการเกณฑทหารก็สามารถท่ีจะเขาโรงเรียนฝกของสํานักงานรักษาความปลอดภัย ตามหลักสูตรของสํานักงานรักษาความปลอดภัย

3“ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีกําหนดหนวยงานของรัฐที่ไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558”, ราชกิจจานุเบกษา, เลม 133,ตอนพิเศษ 182 ง, ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2559 (31 สิงหาคม 2560).

4http://www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=54&Itemid=88 (1 พฤษภาคม 2561).

5องคการสงเคราะหทหารผานศึก. https://th.wikipedia.org/wiki/ (2 พฤษภาคม 2561).6พระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2560, มาตรา 6.

Page 14: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

4

มีการวาจางเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยตามสัญญาจางและออกมาปฏิบัติหนาท่ีเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกได จึงควรเปนปญหาท่ีนาจะพิจารณาดังนี้

1) ขัดตอเจตนารมณของรัฐธรรมนูญเร่ืองสิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพท่ีมีเจตนารมณเพื่อประกันเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การแขงขันทางธุรกิจท่ีเปนธรรมความปลอดภัย สวัสดิภาพ และการดํารงชีพของคนทํางานหรือไม เนื่องจากผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยรายอื่น ๆจะตองอยูภายใตบทบัญญัติของกฎหมายตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 อาทิ กรณีคาธรรมเนียมสําหรับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเชน ผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย มีคาธรรมเนียมสําหรับการขอใบอนุญาตเปนบริษัทธุรกิจรักษาความปลอดภัย เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยมีคาธรรมเนียมขอใบอนุญาตพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต แตองคการสงเคราะหทหารผานศึกผูไดรับการยกเวนไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัย ไมตองเสียคาธรรมเนียมดังกลาวการกําหนดบทลงโทษซึ่งกําหนดไวเฉพาะบริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต จึงควรพิจารณาวาเปนการแขงขันท่ีไมเปนธรรมระหวางองคการสงเคราะหทหารผานศึกกับบริษัทธุรกิจรักษาความปลอดภัย เนื่องจากตนทุนในการประกอบธุรกิจบริการรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกจะไมตองใชเสียคาใชจายสวนนี้ เปนการไดเปรียบในการแขงขันราคา หรือการไมเสียคาธรรมเนียมดังกลาวกระทบตอผลประโยชนของประเทศชาติหรือไม

2) พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 กําหนดใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อพิจารณาและกําหนดหลักเกณฑขอปฏิบัติ มีการประกาศหลักเกณฑตามกฎกระทรวงเพื่อกําหนดเง่ือนไขการประกอบธุรกิจและประกาศหลักเกณฑการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยการยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยท่ีจะตองอยูภายใตมาตรการทางกฎหมายการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย เปนการกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจหรือไม เนื่องจากมีผูประกอบการรักษาความปลอดภัยไดรับการยกเวนไมตองปฏิบัติตามมาตรการทางกฎหมายอันเปนการบัญญัติเพื่อดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย

Page 15: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

5

3)การปฏิบัติงานดานการรักษาความปลอดภัย พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยพ.ศ.2558 ไดใหอํานาจหนาท่ีพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตชวยเหลือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในการจับกุมผูกระทําความผิด รักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของบุคคลรวมท้ังระงับเหตุและรักษาความสงบเรียบรอยภายในบริเวณ หรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัยตามขอกําหนดในสัญญาจาง และเมื่อมีการกระทําความผิดอาญาหรือนาเชื่อวามีเหตุรายเกิดขึ้นภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัยตองแจงเหตุนั้นใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจทองท่ีท่ีปฏิบัติหนาท่ีประจําอยูทราบโดยทันที รวมท้ังปดก้ันและรักษาสถานท่ีเกิดเหตุใหคงสภาพเดิมไวจนกวาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูมีอํานาจหนาท่ีจะเดินทางมาถึงสถานท่ีเกิดเหตุ อัน ถือเปนเสมือนผูชวยเจาพนักงานหรือเปนตํารวจนอย ซึ่งเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกไมมีอํานาจหนาท่ีเชนเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตจะมีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัยอันเปนผลกระทบตอผูรับบริการรักษาความปลอดภัยหรือผูบริโภคหรือไม

4) การยกระดับคุณภาพชีวิตของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 บัญญัติใหผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองเปนบริษัท ตามมาตรา 16 ทําใหเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยมีคุณภาพชีวิตดานสวัสดิการรักษาพยาบาลและเงินสํารองเล้ียงชีพตามกฎหมายประกันสังคม ซึ่ งเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของอาชีพเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกมีการใหสวัสดิการแกเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยตามระเบียบองคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยกองทุนสวัสดิการเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2547 ซึ่งไมมีขอกําหนดดานสวัสดิการเชนเดียวกับกฎหมายประกันสังคม การมีมาตรฐานการสวัสดิการเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยท่ีแตกตางกันถือเปนปญหาอุปสรรคหนึ่งในยกระดับคุณภาพชีวิตอาชีพเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยหรือไม

Page 16: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

6

2. วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาแนวคิดความเปนมาของการบริการรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยและตางประเทศ

2. เพื่อศึกษาถึงมาตรการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยและตางประเทศ

3. เพื่อศึกษาถึงผลกระทบการไมบังคับใชมาตรการกฎหมายในการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก

4. เพื่อศึกษาถึงแนวทางในการกํากับดูแลการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยของหนวยงานรัฐท่ีใหเปนไปตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558เชนเดียวกับผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยเอกชนตามหลักนิติรัฐ

3. ขอบเขตของการศึกษา

ศึกษาคนหาผลกระทบการยกเวนหนวยงานของรัฐท่ีใหบริการรักษาความปลอดภัยไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558โดยศึกษาจากการบังคับใชตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ .ศ. 2558กฎกระทรวงกําหนดหนวยงานของรัฐท่ีไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

4. สมมติฐาน

ธุรกิจการใหบริการรักษาความปลอดภัยมีพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยพ.ศ.2558 กําหนดมาตรฐานของธุรกิจรักษาความปลอดภัย มาตรฐานของพนักงานรักษาความปลอดภัย การยกเวนหนวยงานของรัฐท่ีใหบริการประเภทธุรกิจและกลุมผูรับบริการเดียวกัน ยอมเปนการแขงขันทางการคาท่ีไมเปนธรรมตอผูประกอบธุรกิจเอกชน ดังนั้น

Page 17: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

7

เพื่อใหการประกอบธุรกิจเปนไปอยางเปนธรรมและเพื่อประโยชนของผูบริโภคจึงควรยกเลิกการยกเวนและใหเขาสูการกํากับดูแลท่ีมีมาตรฐานเดียวกัน

5. วิธีการศึกษา

การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใชวิธีการวิจัยทางเอกสาร (DocumentaryResearch) ศึกษาคนควาและรวบรวมขอมูลกฎหมายท่ีเก่ียวของจากหนังสือท่ีพิมพแพรหลาย วิทยานิพนธ บทความ ขอเขียนวิชาการตางๆ ขาวสารในสื่อหนังสือพิมพ และอินเตอรเน็ต เอกสารประกอบการประชุมวิชาการตาง ๆพระราชบัญญัติธุรกิจรักษา ความปลอดภัยพ.ศ.2558 และกฎหมายอื่นๆ ท่ีเก่ียวของ

6. ประโยชนที่ไดรับ

1. ทําใหทราบถึงแนวคิดความเปนมาของการบริการรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยและตางประเทศ

2. ทําใหทราบถึงมาตรการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยและตางประเทศ

3. ทําใหทราบถึงผลกระทบการไมบังคับใชมาตรการกฎหมายในการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก

4. นําเสนอแนวทางในการกํากับดูแลการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยของหนวยงานรัฐท่ีใหเปนไปตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558เชนเดียวกับผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยเอกชนตามหลักนิติรัฐ

Page 18: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

บทที่ 2ความเปนมา แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกบัการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัย

ของเอกชนและหนวยงานรัฐ และรายงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในบทนี้ผูเขียนจะกลาวถึง สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ความหมายของการประกอบธุรกิจ และลักษณะของการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ทฤษฎีเก่ียวกับบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจ แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการคุมครองผูบริโภค วิวัฒนาการและการใหบริการรักษาความปลอดภัยของตางประเทศและประเทศไทย

1. หลักนิติรัฐ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560

ประเทศไทยปกครองดวยระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ซึ่งรัฐจะจะตองใชอํานาจอธิปไตยจะตองเปนไปตามกฎหมาย ผูเขียนจึงขอกลาวถึงหลักนิติรัฐ และสิทธิเสรีภาพตามกฎหมายรัฐธรรมนูญซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ

1.1 ความหมายและความเปนมาของหลักนิติรัฐ

ศาสตราจารย ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ไดใหคําอธิบายความเปนมาของหลักนิติรัฐไววา ตามแนวทางความคิดเสรีนิยมประชาธิปไตยนั้นถือวาแมรัฐจะมีอํานาจอธิปไตยแตรัฐก็ตองเคารพกฎหมายซึ่งมีอยู 2 ทฤษฎีหลักๆ คือ1

1ชาญชัย แสวงศักด์ิ. คําอธิบายกฎหมายปกครอง. พิมพคร้ังที่ 20. กรุงเทพฯ สํานักพิมพวิญูชน 2556, หนา 64.

Page 19: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

9

1) ทฤษฎีวาดวยการจํากัดอํานาจตนเองดวยความสมัครใจ (auto-limitation) ซึ่ง เยียร่ิง(Ihering) และเจลลิเนค (Jellinek) เปนผูเสนอ ซึ่งมีหลักวารัฐไมอาจถูกจํากัดอํานาจโดยกฎหมายได เวนแตรัฐจะสมัครใจผูกมัดตนเองดวยกฎหมายท่ีตนสรางขึ้นและกฎหมายหลักท่ีรัฐสรางขึ้นก็คือรัฐธรรมนูญ ซึ่งกําหนดสถานะของอํานาจการเมืองในรัฐวาอยูท่ีองคกรใด ตองใชอยางไร มีขอจํากัดอยางไร

2) ทฤษฎีนิติรัฐ (Etat de Droit) ซึ่ง รุสโซ และมงเตสกิเดอ ไดเสนอแนวความคิดไวเปนคนแรกๆ และกาเร เดอ มัลแบร ไดสรุปแนวความคิดไวอยางชัดแจง ซึ่งพอสรุปไดวา รัฐและหนวยงานของรัฐกระทําการเพื่อประโยชนสาธารณะและอยูในฐานะท่ีเหนือกวาเอกชน มีอํานาจกอใหเกิดความเคล่ือนไหวในสิทธิหนาท่ีแกเอกชนฝายเดียวโดยปจเจกชนไมสมัครใจได กฎหมายมหาชนใหอํานาจรัฐหรือหนวยงานของรัฐดําเนินการเพื่อประโยชนสาธารณะไดในฐานท่ีเหนือกวาเอกชน แตกฎหมายนั้นเองก็จํากัดอํานาจรัฐหรือหนวยงานของรัฐไมใหใชอํานาจนอกกรอบท่ีกฎหมายใหไว

ศาสตราจารย ดร.วรพจน วิศรุตพิชญ ใหคําอธิบายแนวความคิดและสาระสําคัญของหลักนิติรัฐไว พอสรุปไดดังนี้2

1) รัฐเสรีประชาธิปไตยยอมรับรองและใหความคุมครองสิทธิเสรีภาพขั้นมูลฐานของราษฎรไวในรัฐธรรมนูญโดยอาจจําแนกสิทธิเสรีภาพดังกลาวไดเปน 3 ประเภท คือ

ก) สิทธิเสรีภาพสวนบุคคลโดยแท อันไดแก สิทธิเสรีภาพในชีวิตและรางกายสิทธิเสรีภาพในเคหสถาน สิทธิเสรีภาพในการติดตอสื่อสารถึงกันและกัน สิทธิเสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถ่ินท่ีอยู และสิทธิเสรีภาพในครอบครัว

ข) สิทธิเสรีภาพในทางเศรษฐกิจ อันไดแก สิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพสิทธิเสรีภาพในการมีและใชทรัพยสิน และสิทธิเสรีภาพในการทําสัญญา

ค) สิทธิเสรีภาพในการมีสวนรวมในกระบวนการทางการเมืองอันไดแก สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง สิทธิเสรีภาพในการรวมตัวกันเปนสมาคมหรือพรรคการเมือง และสิทธิเสรีภาพในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้ง

2ชาญชัย แสวงศักด์ิ. เร่ืองเดียวกัน. หนา 65.

Page 20: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

10

1.2 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560

นับแตประเทศไทยเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเปนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน2475 ไดมีการประกาศใช รัฐธรรมนูญฉบับถาวรและฉบับชั่วคราวมาแลว ท้ังสิ้น 20 ฉบับซึ่งฉบับท่ีบังคับใชในปจจุบัน กลาวคือ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560โดยมีผลบังคับใช ตั้งแตวันท่ี 6 เมษายน 2560 เปนตนมา รัฐธรรมนูญถือเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศสิ่งหนึ่งท่ีแสดงความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายใดๆ ท่ีใชบังคับหรือจะใชบังคับนั้นจะขัดหรือแยงตอ รัฐธรรมนูญซึ่งเปนแมบทนั้นมิไดเรียกวา หลักความชอบดวยกฎหมายซึ่งหลักการนี้ไดรับรองไวตั้งแตในรัฐธรรมนูญฉบับแรกจนถึงปจจุบัน ซึ่งมีบทบัญญัติไวในมาตรา 5 แหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2560 วา “รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศบทบัญญัติใดของกฎหมายกฎหรือขอบังคับ หรือการกระทําใดขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญบทบัญญัติหรือการกระทํานั้นเปนอันใชบังคับมิได” ความเปนกฎหมายสูงสุดหรือ Supremacy of Law หมายถึงสภาวะสูงสุดของกฎหมาย ซึ่งแสดงใหเห็นสถานะของกฎหมายนั้นๆ วาอยูในลําดับสูงเหนือกฎหมายอื่นใดท้ังปวง ลําดับเชนนี้อาจเรียกวาศักดิ์หรือชั้นของกฎหมาย (Hierarchy of Law)ซึ่งโดยท่ัวไปแลวจะกําหนดใหรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ สวนกฎหมายธรรมดาในรูปแบบหรือประเภทอื่น ๆท่ีมีชื่อเรียกตางๆ เชน พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีการะเบียบ ขอบังคับ นั้น จะถือวาเปนกฎหมายในชั้นรองลงมาในทุกๆ รัฐธรรมนูญตางก็มีรากฐานแนวคิดหลากหลายดานดวยกัน ซึ่งหนึ่งในนั้นยอมหนีไมพนเร่ืองราวของสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคอยางแนนอน เนื่องจากท้ังสองเร่ืองดังกลาวเปนเร่ืองสําคัญในความเปนมนุษยและเปนหลักการสําคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคจึงปรากฏเปนบทบัญญัติหลักๆ ของรัฐธรรมนูญตางๆเสมอมา ในฐานะแนวความคิดพื้นฐานอันจําเปนควบคูมากับการกําเนิดของรัฐธรรมนูญในโลกเพราะอีกดานหนึ่งการมีรัฐธรรมนูญนั้นก็เปนไปเพื่อคุมครองประชาชนในสังคมการเมืองหนึ่งๆ นั่นเอง สังคมท่ีอยูรวมกันอยางสงบและสันตินั้น

Page 21: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

11

นอกจากจะมีกฎห มายเปนเค ร่ืองมือสําหรับใชในการจัดระเบียบแลวขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ยังเปนแนวทางท่ีใชยึดโยงใหสังคมมีความมั่นคงเขมแข็งอีกดวย เมื่อสังคมมีการพัฒนา เจริญเติบโต และมีความสลับซับซอนมากย่ิงขึ้น กลไกตางๆ ท่ีจะจัดการใหสังคมมีความสงบสุขเกิดขึ้นนั้น จึงตองมีการพัฒนาตามไปดวยและสิทธิเสรีภาพ จึงเปนอีกกลไกหนึ่งในสังคมท่ีจะกําหนดวาสังคมนั้นๆ มีความสุขสงบ และสันติเพียงใด การคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไดมีการนํามาบัญญัติไวเปนคร้ังแรกใน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 โดยบัญญัติไวในหมวด 2 สิทธิและหนาที่ของชนชาวสยามไดวางหลักไวอยางกวางวา“บุคคลยอมมีเสรีภาพบริบูรณในการถือศาสนาหรือลัทธิใดๆ และมีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อถือของตน เมื่อไมเปนปฏิปกษตอหนาท่ีของพลเมืองและไมเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมของประชาชน” และ “ภายในบังคับแหงกฎหมายบุคคลยอมมีเสรีภาพบริบูรณในรางกาย เคหสถาน ทรัพยสิน การพูด การเขียนการโฆษณา การศึกษาอบรม การประชุมโดยเปดเผย การตั้งสมาคม การอาชีพ” แมวาจะวางหลักไวอยางกวางๆ เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติแตในเมื่อไมมีกฎหมายมารองรับในบางเร่ืองจึงมีการละเมิดจนเกิดผลเสียตอการปกครองนับแตนั้นเปนตนมา ในการจัดทํารัฐธรรมนูญแตละฉบับ ผูท่ีเก่ียวของจะคํานึงถึงการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเปนประการสําคัญเสมอมา เพราะมองวาสิทธิและเสรีภาพเปนเกียรติยศและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย และประเทศท่ีปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น หากละเลยหรือไมคุมครองเร่ืองเหลานี้แลวยอมสงผลตอเกียรติภูมิของประเทศชาติตามไปดวยการคุมครองสิทธิและเสรีภาพตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยจึงเปนหลักการสําคัญอยางย่ิงท่ีจะตองนํามาบัญญัติไวในทุกๆ รัฐธรรมนูญ

ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ก็ไดมีการนําเร่ืองสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาบัญญัติไวในหมวด 3 มาตรา 25-49 สาระสําคัญเร่ืองสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ความหมายของคําวา สิทธิ และ เสรีภาพ คําวา“สิทธิเสรีภาพ” ประกอบดวยคํา 2 คํา คือ คําวา “สิทธิ” และ คําวา “เสรีภาพ”

สิทธิ หรือสิทธิ์ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 หมายถึงอํานาจอันชอบธรรม เชน บุคคลมีสิทธิและหนาท่ีตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิ์ในท่ีดิน

Page 22: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

12

แปลงนี้ รวมถึงอํานาจท่ีจะกระทําการใดๆ ไดอยางอิสระโดยไดรับการรับรองจากกฎหมายณัฐกร วิทิตานนท ใหความหมายของสิทธิ (Right) ในความหมายท่ีเขาใจกันในระบบกฎหมายท่ัวไป หมายถึง ประโยชนท่ีกฎหมายรับรอง และคุมครองใหหรืออํานาจท่ีจะกระทําการใดๆ ไดอยางอิสระ โดยไดรับรองจากกฎหมาย อยางไรก็ดี เมื่อมีสิทธิแลวยอมจะตองมีหนาท่ี (Duty) ความรับผิดชอบตามมาดวย สิทธิและหนาท่ีจึงเปนของคูกันเพราะเมื่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีสิทธิหรือไดประโยชนท่ีกฎหมายรับรองใหแลวอีกบุคคลหนึ่งก็จะตองมีหนาท่ีท่ีจะตองไมรบกวนหรือขัดขวางตอสิทธินั้น ในอันท่ีจะกระทําการหรืองดเวนไมกระทําการใดๆ เพื่อใหเปนไปตามสิทธินั้นอยางไรก็ได

รองศาสตราจารยมานิต จุมปา ใหความหมายของคําวา สิทธิ (Right) หมายถึงประโยชนท่ีกฎหมายรับรองและคุมครองใหแกบุคคลในอันท่ีจะกระทําการเก่ียวกับทรัพยสินหรือบุคคลอื่น เชน สิทธิในทรัพยสิน สิทธิในชีวิตและรางกาย เปนตน สิ่งท่ีรัฐธรรมนูญกําหนดเปนสิทธิ หมายความวา รัฐใหสิทธิแกประชาชน โดยรัฐมีพันธกรณี(หนาท่ี) ท่ีจะตองทําใหประชาชนไดรับสิทธินั้น เปรียบประดุจดังรัฐเปนลูกหนี้ประชาชนเปนเจาหนี้

ศาสตราจารย ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ ใหความหมายของสิทธิตามรัฐธรรมนูญและสิทธิตามความหมายท่ัวไป หมายถึง อํานาจท่ีกฎหมายรับรองคุมครองใหแกบุคคลในอันท่ีจะเรียกรองใหบุคคลอื่นกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง สิทธิจึงกอใหเกิดหนาท่ีแกบุคคลอื่นดวย ความหมายของสิทธิท่ีกลาวมาขางตนเปนสิทธิตามความหมายท่ัวไปแตสิทธิตามรัฐธรรมนูญ นั้นถือวาเปนสิทธิตามกฎหมายมหาชน หมายถึง อํานาจตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุดไดบัญญัติใหการรับรองคุมครองแกปจเจกบุคคลในอันท่ีจะกระทําการใดหรือไมกระทําการใดการใหอํานาจแกปจเจกบุคคลดังกลาวไดกอใหเกิดสิทธิเรียกรองท่ีจะไมใหบุคคลใดแทรกแซงในสิทธิตามรัฐธรรมนูญของตนโดยเฉพาะอยางย่ิงเรียกรองตอองคกรของรัฐมิใหแทรกแซงในขอบเขตสิทธิของตนในบางกรณีการรับรองดังกลาวไดกอใหเกิดสิทธิเรียกรองใหรัฐดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง สิทธิตามรัฐธรรมนูญยังหมายรวมถึงการใหหลักประกันในทางหลักการ ดังนั้น สิทธิตามรัฐธรรมนูญจึงเปนความสัมพันธระหวางปจเจกบุคคลกับรัฐและสิทธิตามรัฐธรรมนูญ

Page 23: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

13

เปนสิทธิท่ีผูกพันองคกรผูใชอํานาจรัฐท้ังหลายท่ีจะตองใหความเคารพ ปกปอง และคุมครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญดังกลาว เพื่อใหสิทธิตามรัฐธรรมนูญมีผลในทางปฏิบัติ

เสรีภาพ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 หมายถึง ความสามารถท่ีจะกระทําการใดๆ ไดตามท่ีตนปรารถนาโดยไมมีอุปสรรคขัดขวาง เชน เสรีภาพในการพูดเสรีภาพในการนับถือศาสนา ความมีสิทธิท่ีจะกระทําการท่ีไมละเมิดสิทธิของผูอื่น

ณัฐกร วิทิตานนท ใหความหมายของ เสรีภาพ (Liberty) ในท่ีนี้ หมายถึง ความเปนอิสระ ท่ีจะกระทําการหรืองดเวนการกระทําใดๆ

รองศาสตราจารยมานิต จุมปา ใหความหมายของคําวา เสรีภาพ (Liberty) หมายถึงภาวะของมนุษยท่ีไมอยูภายใตการครอบงําของผูอื่น มีสิทธิท่ีจะกระทําการหรืองดเวนกระทําการ เชน เสรีภาพในการเดินทาง เปนตน สิ่งใดรัฐธรรมนูญกําหนดเสรีภาพหมายความวา ประชาชนมีเสรีภาพเชนนั้น โดยรัฐมีหนาท่ีท่ัวไปท่ีจะงดเวนไมขัดขวางการใชเสรีภาพนั้นของประชาชน แตรัฐไมมีหนาท่ี โดยเฉพาะเจาะจงท่ีจะตองจัดหาสิ่งท่ีเปนเสรีภาพจึงตางจากสิทธิท่ีสิ่งใดเปนสิทธิ ถือวาเปนหนาท่ีของรัฐโดยเฉพาะเจาะจงในการทําใหประชาชนไดรับสิทธินั้น

ศาสตราจารย ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ ใหความหมายของเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญหมายถึง สภาพการณท่ีบุคคลมีอิสระในการท่ีจะกระทําการอยางใดอยางหนึ่งตามความประสงคของตน เสรีภาพจึง หมายถึง อํานาจในการกําหนดตนเองโดยอิสระของบุคคลท่ีจะกระทําการใดหรือไมกระทําการใดอันเปนอํานาจท่ีมีเหนือตนเอง ความแตกตางระหวาง “สิทธิ” และ “เสรีภาพ” จึงอยูท่ีวา “สิทธิ” เปนอํานาจท่ีบุคคลมีเพื่อเรียกรองใหผูอื่นกระทําการหรือละเวนกระทําการอันใดอันหนึ่งแตในขณะท่ี “เสรีภาพ” นั้นเปนอํานาจท่ีบุคคลนั้นมีอยูเหนือตนเองในการตัดสินใจจะกระทําการอยางใดอยางหนึ่งหรือไมกระทําการอยางใดอยางหนึ่งโดยปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงําจากบุคคลอื่น เสรีภาพจึงไมกอใหเกิดหนาท่ีตอบุคคลอื่นแตอยางใด

ดังนั้น สิทธิและเสรีภาพ จึงมีความแตกตางกันตรงท่ี1) “สิทธิ” เปนประโยชนท่ีตองมีกฎหมายรับรองและคุมครองไวบุคคลจึงจะเกิด

มีสิทธิเชนนั้นได แตถากฎหมายไมไดใหการรับรองหรือคุมครองประชาชนก็จะไมมี

Page 24: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

14

สิทธิเชนนั้น ในขณะท่ี “เสรีภาพ” เปนภาวะโดยอิสระของมนุษยแมจะไมมีกฎหมายรับรองหรือคุมครองไวบุคคลก็ยังคงมีเสรีภาพนั้น

2) “สิทธิ” ท่ีรัฐใหการรับรองและคุมครองแลวนั้น รัฐมีหนาท่ีโดยเฉพาะเจาะจงท่ีจะตองทําใหประชาชนไดรับสิทธินั้นในขณะท่ี “เสรีภาพ” นั้น รัฐไมมีหนาท่ีท่ีจะตองจัดหาใหแตอยางใด สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560การรับรองสิทธิเสรีภาพไวอยางกวาง มาตรา 25 วรรคหนึ่ง สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากท่ีบัญญัติคุมครองไวเปนการเฉพาะในรัฐธรรมนูญแลว การใดท่ีมิไดหามหรือจํากัดไวในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่น บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพท่ีจะทําการนั้นไดและไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญตราบเทาท่ีการใชสิทธิหรือเสรีภาพเชนวานั้นไมกระทบกระเทือนหรือเปนอันตรายตอความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไมละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่นการกลาวอางสิทธิและเสรีภาพ มาตรา 25 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ สิทธิหรือเสรีภาพใดท่ีรัฐธรรมนูญใหเปนไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติหรือใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกฎหมายบัญญัติแมยังไมมีการตรากฎหมายนั้นขึ้นใชบังคับ บุคคลหรือชุมชน ยอมสามารถใชสิทธิหรือเสรีภาพนั้นไดตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ีไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญ สามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญเพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลไดบุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพหรือจากการกระทําความผิดอาญาของบุคคลอื่น ยอมมีสิทธิท่ีจะไดรับการเยียวยาหรือชวยเหลือจากรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญัติ 3

รัฐธรรมนูญฯ 2560 ไดคงหลักการของรัฐธรรมนูญฯ 2550 ซึ่งไดมีการแกไขหลักการเดิมของรัฐธรรมนูญฯ 2540 ซึ่งเคยกําหนดใหการใชสิทธิและเสรีภาพตองเปนไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติโดยแกไขใหมใหเปนใหสามารถใชสิทธิและเสรีภาพได

3https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1728นายพงษธวัฒน บุญพิทักษ วิทยากร สํานักกฎหมาย สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร (14 มิ.ย.61).

Page 25: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

15

ทันทีไมตองรอใหมีกฎหมายบัญญัติขึ้นเสียกอน โดยการคุมครองสิทธิและเสรีภาพตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังนี้4

(1) การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐ มีเจตนารมณเพื่อคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยจากการใชอํานาจใดๆ โดยองคกรของรัฐทุกองคกร

(2) ความเสมอภาค มีเจตนารมณเพื่อกําหนดหลักความเสมอภาคและการไมเลือกปฏิบัติแกบุคคลท่ีมีความแตกตางกันวายอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน

(3) สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล มีเจตนารมณเพื่อประกันสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกายในเคหสถาน การเลือกท่ีอยูอาศัย การเดินทาง เกียรติยศชื่อเสียง ความเปนสวนตัว การสื่อสารของบุคคล การนับถือศาสนา การปองกันมิใหรัฐบังคับใชแรงงาน

(4) สิทธิในกระบวนการยุติธรรม มีเจตนารมณเพื่อคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลเก่ียวกับความรับผิดทางอาญามิใหตองรับโทษหนักกวาท่ีบัญญัติไวในกฎหมายท่ีใชอยูในขณะท่ีกระทําความผิด คุมครองความเสมอภาค และการเขาถึงไดโดยงายในกระบวนการยุติธรรม การไดรับความชวยเหลือทางกฎหมายท้ังทางแพงและทางอาญา

(5) สิทธิในทรัพยสิน มีเจตนารมณเพื่อประกันความมั่นคงในการถือครองทรัพยสินประกันสิทธิของผูถูกเวนคืนทรัพยสินท่ีตองกําหนดคาทดแทนท่ีเปนธรรม

(6) สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ มีเจตนารมณเพื่อประกันเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การแขงขันทางธุรกิจท่ีเปนธรรม ความปลอดภัย สวัสดิภาพ และการดํารงชีพของคนทํางาน

(7) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน มีเจตนารมณเพื่อคุมครองเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคลและสื่อมวลชนดวยการพูด การเขียนการพิมพ การโฆษณา การกําหนดมิใหรัฐจํากัดเสรีภาพการแสดงออกของบุคคล เวนแตเพื่อความมั่นคงของรัฐ เพื่อความสัมพันธระหวางประเทศ เพื่อคุมครองสิทธิ เสรีภาพเกียรติยศ ชื่อเสียง สิทธิในครอบครัวของบุคคลอื่น หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอย

4http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย สุเทพ เอ่ียมคง, จเรพันธุเปร่ือง, 2559 (16 มิ.ย.61).

Page 26: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

16

หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันความเสื่อมทรามทางจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน อีกท้ังเพื่อปองกันมิใหรัฐสั่งปดกิจการหนังสือพิมพ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน คุมครองและจัดสรรคล่ืนความถ่ีอยางเปนธรรม ใหประชาชนมีสวนรวมและปองกันการควบรวมการครองสิทธิขามสื่อ เพื่อคุมครองใหประชาชนไดรับขอมูลขาวสารท่ีหลากหลาย จึงปองกันมิใหผูดํารงตําแหนงทางการเมืองเขาเปนเจาของกิจการหรือถือหุนในกิจการหนังสือพิมพ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน หรือโทรคมนาคมรวมถึงการแทรกแซงท้ังทางตรงและทางออม

(8) สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา มีเจตนารมณเพื่อใหบุคคลมีความเสมอภาคในการไดรับการศึกษา ไมนอยกวาสิบสองปตั้งแตชั้นประถมศึกษาจนถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ซึ่งรัฐจะตองจะตองจัดใหอยางท่ัวถึง มีคุณภาพ และเหมาะสมกับผูเรียน คุมครองเสรีภาพทางวิชาการท่ีไมขัดตอหนาท่ีพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

(9) สิทธิในการไดรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ มีเจตนารมณเพื่อใหประชาชนไดรับบริการทางสาธารณสุขจากรัฐอยางเสมอภาค เพื่อคุมครองสิทธิเด็ก เยาวชน สตรี ผูพิการหรือทุพพลภาพ การดํารงชีพของผูสูงอายุ

(10) สิทธิในขอมูลขาวสารและการรองเรียน มีเจตนารมณเพื่อคุมครองการเขาถึงขอมูลขาวสารสาธารณะ การรับรูและรับฟงความคิดเห็นของประชาชน การรองทุกขการโตแยงการปฏิบัติราชการในทางปกครอง และเพื่อคุมครองสิทธิของบุคคลในการฟองหนวยงานของรัฐ

(11) เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม มีเจตนารมณเพื่อคุมครองเสรีภาพของประชาชนในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ คุมครองประชาชนใหไดรับความสะดวกในการใชพื้นท่ีสาธารณะ คุมครองการรวมกลุมเปนสมาคม สหภาพสหพันธ สหกรณ กลุมเกษตรกร องคกรเอกชน องคการพัฒนาเอกชน หรือหมูคณะอื่นคุมครองการตั้งพรรคการเมืองเพื่อสืบสานเจตนารมณทางการเมืองตามวิถีทางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขในระบบรัฐสภา

Page 27: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

17

(12) สิทธิชุมชนมีเจตนารมณเพื่อรับรองสิทธิชุมชน ชุมชนทองถ่ิน และชุมชนทองถ่ินดั้งเดิม คุมครองบุคคลในการอนุรักษ บํารุงรักษาและการไดรับประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ

(13) สิทธิพิทักษรัฐธรรมนูญมีเจตนารมณเพื่อคุมครองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข คุมครองบุคคลในการตอตานโดยสันติวิธีตอการกระทําเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจในการปกครองดวยวิถีทางท่ีมิชอบ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 40 บัญญัติวา บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิไดเวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายท่ีตราขึ้นเพื่อรักษาความมั่นคงหรือเศรษฐกิจของประเทศ การแขงขันอยางเปนธรรม การปองกัน หรือขจัดการกีดกันหรือการผูกขาด การคุมครองผูบริโภค การจัดระเบียบการประกอบอาชีพเพียงเทาท่ีจําเปนหรือเพื่อประโยชนสาธารณะอยางอื่นการตรากฎหมายเพื่อจัดระเบียบการประกอบอาชีพตามวรรคสอง ตองไมมีลักษณะเปนการเลือกปฏิบัติ หรือกาวกายการจัดการศึกษาของสถาบันการศึกษา

จากเจตนารมณของรัฐธรรมนูญเรื่องสิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพมีเจตนารมณเพื่อประกันเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การแขงขันทางธุรกิจท่ีเปนธรรมความปลอดภัย สวัสดิภาพ และการดํารงชีพของคนทํางานการ การประกาศยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยจึงเปนการแขงขั้นทางธุรกิจท่ีไมเปนธรรมสําหรับบริษัทรักษาความปลอดภัยผูประกอบการเอกชนท่ีทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยภายใตพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

2. การประกอบธุรกิจบริการรักษาความปลอดภัย

ธุรกิจรักษาความปลอดภัยเปนธุรกิจบริการท่ีมีความสําคัญตอผูรับบริการเปนอยางย่ิง เนื่องจากเปนการบริการเพื่อรักษาดูแลความปลอดภัยสถานท่ีใหทรัพยสินอยูในความปลอดภัย ดูแลความปลอดภัยบุคคลเพื่อใหมีปลอดภัยในชีวิตและรางกาย การท่ีศึกษาเก่ียวกับการประกอบธุรกิจประเภทนี้จะทําใหเปนประโยชนตอสังคม ดังนั้น

Page 28: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

18

ผูเขียนจึงไดนําเสนอขอมูลรายละเอียดเก่ียวกับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเปนลําดับดังตอไปนี้

2.1 ความหมายของธุรกิจ

เพื่อใหเกิดความชัดเจนและความเขาใจเก่ียวกับการประกอบธุรกิจบริการรักษาความปลอดภัย จําเปนตองกลาวถึงความหมายและประเภทของธุรกิ จ เพื่อเปนพื้นฐานความรูและเพิ่มความเขาใจดังนี้

ความหมายของคําวา “ธุรกิจ” เมื่อไดศึกษาบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยแลวไมพบคําจํากัดความของคําวา “ธุรกิจ” จึงอาศัยการเทียบเคียงจากความหมายท่ัวไปและความหมายในทางกฎหมายดังนี้

1. ความหมายท่ัวไป ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไมเคยมีการใชคําวา “ธุรกิจ”เพื่อท่ีจะทราบความหมายท่ีแทจริง จึงควรท่ีจะศึกษาและพิจารณาจากถอยคําท่ีใชอยูโดยแยกพิจารณาดังนี้

1) ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 ไดใหความหมายของคําวา “ธุรกิจ” ไววา ธุรกิจ หมายถึง การงานประจําเก่ียวกับอาชีพคาขาย หรือกิจการอยางอื่นท่ีสําคัญและไมใชราชการ การประกอบกิจการเพื่อมุงการคาหากําไรและคําวา“คาขาย” หมายถึง ทํามาหากินในทางซื้อขาย ดังนั้น จึงกลาวไดวาธุรกิจ หมายถึง งานประจําใดๆ ก็ตามท่ีไมใชงานราชการและทําเพื่อมุงการคาหากําไร

2) ความหมายในทางตํารา มีผูแตงตําราไดใหความหมายของธุรกิจ5

(Business) ไวแตกตางกันดังนี้“ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมทางดานเศรษฐกิจและการพาณิชยท่ีมีเปาหมายทางดาน

กําไรในการจัดหาสินคาและบริการ เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภค”6

5พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. www.royin.go.th/dictionary,(1 พฤษภาคม 2561).

6สมยศ นําวีการ. การบริหารธุรกิจ, 2525, หนา 4.

Page 29: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

19

“ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมทางดานเศรษฐกิจอยางตอเนื่องขอมนุษยท่ีเก่ียวของกับการผลิต การแลกเปล่ียนซื้อขายซึ่งสินคาและบริการโดยมีจุดมุงหมายท่ีจะแสวงหากําไรหรือจากการประกอบธุรกิจนั้น ๆ”7

“การประกอบธุรกิจ หมายถึง การกระทํากิจกรมของมนุษยท่ีกระทําขึ้นเพื่อการผลิตหรือการไดมาซึ่งทรัพยหรือบริการและการนําสินคาไปขายหรือจําหนายใหแกผูบริโภคเพื่อแสดงหากําไร”8

ดังนั้นจึงพอสรุปไดวาการประกอบธุรกิจบริการคือ การดําเนินกิจกรรมหรือการงานประจําเก่ียวกับอาชีพคาขาย หรือกิจกรรมอยางอื่น ไมใชราชการและตองทําเพื่อมุงหวังผลกําไรเปนสิ่งตอบแทน

2. ความหมายในทางกฎหมายเนื่องจากประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมิไดใหคําจํากัดความวา “ธุรกิจ” และ

“การคา” ไว จึงตองอาศัยการเทียบเคียงจากกฎหมายอื่นซึ่งไดใหคําจํากัดความของคําดังกลาวไวดังนี้

1) ในประมวลรัษฎากรเคยใหคําจํากัดความคําวา “การคา” ไวในมาตรา 77 โดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2504 ซึ่งไดถูกยกเลิกไปแลวในปจจุบันโดยใหคําจํากัดความไววาการคา หมายถึงการประกอบธุรกิจทางพาณิชย การอุตสาหกรรมการเกษตร การผลิต การนําเขา การสงออกหรือการใหบริการใดๆ เพื่อประโยชนนั้นมีมูลคา9

2) ในประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 281 เร่ืองกําหนดหลักเกณฑการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ.2515 ไดใหคําจํากัดความคําวา “ธุรกิจ” ไวในขอ 3 วาธุรกิจ หมายถึงการประกอบกิจการในทางเกษตรอุตสาหกรรมหัตถกรรม พาณิชยกรรมการบริการหรือกิจกรรมอยางอื่นเปนการคา10

7สมคิด บางโม. การประกอบธุรกิจ. 2539, หนา 14.8ไพฑูรย หอมสุวรรณ. มาตรการทางกฎหมายในการคุมครองผูบริโภค ศึกษากรณี

ผูใชบริการนวดและสปาเพื่อสุขภาพ, วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2555,หนา 36.

9ไพฑูรย หอมสุวรรณ. เร่ืองเดียวกัน. หนา 36.10นงเยาว ชัยศรี. ธุรกิจเบื้องตน, 2511, หนา 1.

Page 30: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

20

(ก) ประเภทธุรกิจ ธุรกิจในปจจุบันสามารถจําแนกไดตามความหมายในทางกฎหมาย ดังนี้11

1) เกษตรกรรม (Agriculture) หมายถึง การทํานา ทําไร ทําสวน เล้ียงสัตว เล้ียงผึ้งเล้ียงไหม เล้ียงคร่ัง เพาะเห็ด และการอื่นๆ ตามท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา และรวมถึงการประมงดวย

2) อุตสาหกรรม (Manufacturing) หมายถึง การผลิต การแปรรูปและการหลอหลอมวัตถุดิบใหเปนสินคาตางๆ อาจเปนสินคาสําเร็จรูปสามารถนําไปใชอุปโภคบริโภคไดทันที เชน โทรทัศน อาหารกระปอง ยา เปนตน หรือเปนสินคาวัตถุดิบเพื่อการผลิต เชนเหมืองแร ปาไม เปนตน หรือสินคาก่ึงสําเร็จรูป เชน เหล็กเสน เปนตน

3) หัตถกรรม (Handicraft) หมายถึง การทําดวยฝมือ เชน การทอผาไหม การทํารมเคร่ืองปนดินเผา เปนตน

4) พาณิชยกรรม (Commercial) หมายถึง การคาขาย เปนการซื้อขายแลกเปล่ียนสินคาหรือบริการ เชนการคาปลีก คาสง เปนตน

5) บริการ (Service) หมายถึง ธุรกิจท่ีทําหนาท่ีใหบริการ เพื่อใหเกิดความสะดวกสบาย เชน โทรคมนาคม สวนสนุก การธนาคาร ประกันภัย โรงพยาบาลรวมถึงสถานบริการตางๆ เปนตน ธุรกิจประเภทนี้นับวันจะมีความสําคัญมากขึ้นเนื่องจากการขยายตัวทางดานธุรกิจอื่นๆ และความตองการทางดานนี้ของผูบริโภคมีมากขึ้นดวย

6) ธุรกิจอื่นๆ เปนการคา เชน ธุรกิจกอสราง เปนตน(ข) รูปแบบของการประกอบธุรกิจของเอกชน ในการประกอบธุรกิจนั้น

ผูเปนเจาของธุรกิจหรือผูลงทุนตองตัดสินใจวาจะเลือกดําเนินธุรกิจในรูปแบบใด ท้ังนี้เพราะการประกอบธุรกิจแตละรูปแบบนั้นมีลักษณะความเปนเจาของความรับผิดชอบและผลตอบแทนการลงทุนและอํานาจควบคุมดูแลแตกตางกันไป ดังนั้น ผูประกอบ

11สุมาลี สุขอราม. การประยุกตใชพุทธจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ : กรณีศึกษา บริษัทแฟร่ีแลนด จํากัด. วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบันฑิต มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554,หนา 14-17.

Page 31: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

21

ธุรกิจจึงตองเลือกรูปแบบธุรกิจท่ีเหมาะสมกับความตองการของตนซึ่งเปนรูปแบบของการประกอบธุรกิจเทาท่ีมีอยูในประเทศไทยพอจะแยกกวางๆ ไดเปน 3 รูปแบบดังนี้12

1) กิจการเจาของคนเดียว (Sole Proprietorship) หมายถึง กิจการท่ีเจาของเปนผูลงทุนแตเพียงผูเดียวและมีอํานาจสิทธิขาดในการตัดสินใจเก่ียวกับการจัดการธุรกิจนั้นแตเพียงผูเดียวการประกอบธุรกิจในรูปแบบกิจการเจาของคนเดียวนี้อยูภายใตบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเร่ืองนิติกรรมสัญญาและกิจการโดยเจาของมีฐานะเปนตัวการหรือเจานายแลวแตขอตกลงซึ่งอํานาจในการมอบหมายใหทํางานยอมขึ้นอยูกับตัวนายจางหรือตัวการซึ่งเปนเจาของกิจการนั้นเมื่อกิจการไดกําไรเจาของยอมไดกําไรแตเพียงผูเดียว หากกิจการขาดทุนเจาของก็ตองรับเอาการขาดทุนนั้นแตเพียงผูเดียวเชนกัน ท้ังเจาของยังตองรับผิดในบรรดาหนี้สินตางๆ ท่ีเกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจท้ังนี้โดยไมจํากัดจํานวน

2) หางหุนสวน (Partnership) หมายถึง กิจการซึ่งบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปตกลงรวมทุนกัน โดยนําเ งินสดทรัพยสินอยางอื่นหรือแรงงานมาลงทุนรวมกันดวยวัตถุประสงคท่ีจะแบงกําไรอันจะพึงไดจากกิจการท่ีกระทํารวมกันนั้น ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไดแบงหางหุนสวนออกเปน 2 ประเภทดังนี้

(1) หางหุนสวนสามัญ (Ordinary Partnership) หมายถึง หางหุนสวนซึ่งเปนผูเปนหุนสวนทุกคนตองรวมกันรับผิดเพื่อหนี้สินท้ังปวงของหางหุนสวนโดยไมจํากัดจํานวนหางหุนสวนสามัญ

(2) หางหุนสวนจํากัด (Limited Partnership) หมายถึง หางหุนสวนซึ่งมีผูเปนหุนสวน 2 ประเภท ดังนี้

ก. ผูเปนหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด ซึ่งรับผิดจํากัดเพียงไมเกินจํานวนท่ีตนรับจะลงหุนในหางหุนสวนจํากัดนั้น ไมวาหางหุนสวนจํากัดนั้นจะมีหนี้สินมากมายเพียงใด ความรับผิดของหุนสวนประเภทนี้เหมือนกับความรับผิดของผูถือหุนในบริษัทจํากัด

12สุมาลี สุขอราม. เร่ืองเดียวกัน. 2554, หนา 18-19.

Page 32: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

22

ข. ผูเปนหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิด ซึ่งตองรวมกันรับผิดในบรรดาหนี้สินของหางหุนสวนโดยไมจํากัดจํานวนความรับผิดของหุนสวนประเภทนี้เหมือนกับหุนสวนในหางหุนสวนสามัญ

(3) บริษัทจํากัด (Limited Company) บริษัทจํากัดแบงออกเปน 2 ประเภท คือบริษัทเอกชน จํากัด ซึ่งตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยและบริษัทมหาชนจํากัด ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ.2535

ก. บริษัทเอกชนจํากัด (Private Company) หมายถึงบริษัทท่ีจัดตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งไดใหคําจํากัดความของบริษัทจํากัดไววาบริษัทจํากัด หมายถึง บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นดวยแบงทุนเปนหุนมีมูลคาเทาๆ กันหุนนั้นตองมีมูลคาอยางนอยหุนละหาบาทโดยมีผูถือหุนตางรับผิดจํากัดเพียงไมเกินจํานวนเงินท่ีตนยังสงใชไมครบมูลคาของหุนท่ีตนถือบริษัทเอกชนจํากัดมีลักษณะสําคัญ ดังนี้

ก) เปนกิจการท่ีมีการลงทุนรวมกันเพื่อวัตถุประสงคจะแบงปนกําไรอันจะพึงไดจากกิจกรรมท่ีทํารวมกัน

ข) เปนกิจการซึ่งตั้งขึ้นดวยแบงทุนเปนหุน แตละหุนมีมูลคาเทาๆ กันค) มีคูสัญญาอยางนอยตั้งแต 3 คนขึ้นไปเรียกวา “ผูเร่ิมกอการ” (Promoters)

ซึ่งเปนผูเร่ิมกอการนี้ตองถือหุนหนึ่งหุนเปนอยางนอยง) ผูถือหุนรับผิดจํากัดจํานวนไมเกินจํานวนเงินท่ีตนสงใชไมครบ

มูลคาหุนท่ีตนถือจ) คุณสมบัติของผูถือหุนไมเปนขอสาระสําคัญเนื่องจากผู ถือหุนรับ

ผิดอยางจํากัดและผูถือหุนไมมีสิทธิเขาไปจัดการงานของบริษัทหรือกอหนี้สินผูกพันผูถือหุนคนอื่นใหตองรับผิดรวมกัน ดังนั้น ผูถือหุนจะมีคุณสมบัติอยางไรยอมไมใชสาระสําคัญ

ฉ) ตองจดทะเบียนนิติบุคคลเสมอสําหรับขั้นตอนการจัดตั้งบริษัทเอกชนจํากัดนั้นเร่ิมตนโดยตองมีผูเร่ิมกอการ

ตั้งแต 3 คนขึ้นไป เขาชื่อกันทําหนังสือบริคณหสนธิแลวนําหนังสือบริคณหสนธินั้นไปจดทะเบียนและผูเร่ิมกอการตองจัดใหมีผูเขาชื่อจองหุนจนครบแลวนัดประชุมจัดตั้งบริษัทโดยไมชักชาเพื่อจัดทําขอบังคับของบริษัทใหสัตยาบันแกสัญญาท่ีผูเร่ิมกอการได

Page 33: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

23

กระทําไปในการจัดตั้งบริษัทรวมท้ังคาใชจายท่ีไดมีการจายไปในการนั้นใหแกกรรมการบริษัทรับไปดําเนินการตอไป กรรมการเรียกใหผูเร่ิมกอการและผูเขาชื่อจองซื้อหุนชําระคาหุนคร้ังแรกอยางนอย รอยละ 25 และตองไปขอจดทะเบียนตั้งบริษัทภายใน 3 เดือนนับแตวันท่ีประชุมตั้งบริษัท

ข. บริษัทมหาชนจํากัด (Public Limited Company) ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ.2535 ไดใหความหมายของบริษัทมหาชน จํากัด ไววา คือ บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นดวยความประสงคท่ีจะเสนอขายหุนตอประชาชน กฎและขอบังคับท่ีเก่ียวของกับการขายหุนตอประชาชนจะถูกกําหนดตามพระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพยพ.ศ.2535 โดยมีคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยคอยกํากับดูแล การจัดตั้งบริษัทมหาชนตองประกอบดวยผูเร่ิมกอการซึ่งเปนบุคคลธรรมดาอยางนอยสิบหาคนขึ้นไป ท้ังนี้ผูเร่ิมจัดตั้งตองมีคุณสมบัติตามท่ีกํากฎหมายกําหนด กลาวคือ

ก) บรรลุนิติภาวะแลวข) มีถ่ินท่ีอยูในราชอาณาจักรเปนจํานวนไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของ

จํานวนผูเร่ิมจัดตั้งท้ังหมดค) จองหุนและหุนท่ีจองท้ังหมดนั้นตองเปนหุนท่ีชําระคาหุนเปนตัว

เงินรวมกันไมนอยกวารอยละ 5 ของทุนจดทะเบียนง) ไมเปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถหรือไม

เปนหรือเคยเปนบุคคลลมละลาย และจ) ไมเคยรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกในความผิด

เก่ียวกับทรัพยท่ีไดกระทําโดยทุจริตผูเร่ิมกอการของบริษัทมหาชนตองมีจํานวนไมนอยกวา 15 คน หุนของบริษัท

มหาชนตองมีมูลคาเทากับการเรียกใหผูจองหุนชําระคาหุนสําหรับบริษัทนั้น กรรมการเรียกใหผูจองหุนชําระคาหุนเพียงรอยละ 25 ไดแตในบริษัทมหาชนนั้นกรรมการตองเรียกใหผูจองหุนชําระเงินคาหุนเต็ม 100 เปอรเซ็นต ใบหุนของบริษัทมหาชนตองมีการระบุชื่อผูถือสําหรับใบหุนของบริษัทอาจไมระบุชื่อผูถือก็ได ใบหุนท่ีไมระบุชื่อนั้น การโอนหุนยอมทําไดโดยการสงมอบใบหุน เมื่อใบหุนในบริษัทมหาชนตองเปนใบหุนท่ีระบุชื่อการโอนหุนยอมสมบูรณเมือผูโอนไดสลักหลังใบหุนโดยระบุชื่อผูโอนและลงลายมือชื่อ

Page 34: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

24

รับรองพรอมท้ังเวนคืนใบหุนเดิมใหแกบริษัทและการโอนจะใชยันแกบุคคลภายนอกไดตอเมื่อจดแจงการโอนลงในทะเบียนผูถือหุน กรรมการบริษัทมหาชนกฎหมายกําหนดวาจะตองเปนผูถือหุนของบริษัท แตสําหรับบริษัทจํากัดนั้นผูท่ีเปนกรรมการนั้นกฎหมายไมไดกําหนดวาจะตองเปนผูถือหุนของบริษัท กรรมการในบริษัทจะเปนใครก็ไดท้ังนี้เปนไปตามมติท่ีประชุมใหญของผูถือหุนนอกจากนี้ในบริษัทไมไดมีการกําหนดจํานวนกรรมการ กรรมการของบริษัทจึงมีเพียงหนึ่งคนได กรรมการของบริษัทมหาชนนอกจากท่ีกฎหมายจะกําหนดไววา ตองเปนผูถือหุนของบริษัท กฎหมายยังกําหนดวาตองมีกรรมการไมนอยกวา 15 คน และกรรมการไมนอยกวาคร่ึงหนึ่งจะตองมีถ่ินท่ีอยูในประเทศไทย

บริษัทมหาชนยอมเลิกกันในกรณีท่ีท่ีประชุมผูถือหุนลงมติใหเลิกดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนเสียงท้ังหมดของผูถือหุนท่ีมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน บริษัทมหาชนลมละลายศาลมีคําสั่งใหเลิกบริษัทเมื่อผูถือหุนซึ่งมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนหุนท่ีไดจําหนายท้ังหมดไดรองขอใหศาลเลิกบริษัทในกรณีท่ีผูเร่ิมจัดตั้งบริษัทฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามบทบัญญัติเก่ียวกับการประชุมจัดตั้งบริษัทหรือการจัดทํารายงานการจัดตั้งบริษัทหรือคณะกรรมการบริษัทฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามบทบัญญัติเก่ียวกับการชําระคาหุน การจัดทําบัญชีรายชื่อผูถือหุนหรือการจดทะเบียนบริษัทหรือจํานวนผูถือหุนลดนอยลงจนเหลือไมถึงสิบหาคนหรือกิจการของบริษัทดําเนินไปก็ไมแตจะขาดทุน และไมมีหวังท่ีจะดําเนินกิจการใหดีขึ้น

บริษัทมหาชนเปนรูปแบบหนึ่งของการระดมทุนจากประชาชน ประชาชนสามารถรวมลงทุนกับบริษัทมหาชนนั้นได โดยการซื้อหุน และจะไดรับผลประโยชนตอบแทนในรูปของเงินปนผล

Page 35: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

25

2.2 ความหมายของธุรกิจบริการ

ธุรกิจบริการ13 หมายถึง การบริการซึ่งเปนกิจกรรมผลประโยชนหรือความพึงพอใจท่ีสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได เชน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงแรม ธนาคารเปนตน หรืออาจหมายถึง ธุรกิจท่ีดําเนินกิจกรรมท่ีตอบสนองตอความตองการของผูบริโภคเพื่อสรางความพึงพอใจแกผูบริโภคและผลประโยชนของธุรกิจซึ่งการใหหรือขายบริการดังกลาวอาจจะเปนการให หรือขายโดยตรงสูลูกคา หรือโดยทางออม หรือโดยตอเนื่องก็ได หรืออาจหมายถึง ธุรกิจท่ีดําเนินกิจการแลกเปล่ียน เชน ธุรกิจการทองเท่ียวธุรกิจรักษาพยาบาล ธุรกิจสําหรับผูสูงอายุ ธุรกิจเก่ียวกับการคมนาคมขนสง ธุรกิจเก่ียวกับท่ีพักอาศัย เปนตน

โดยสรุปคือ ธุรกิจบริการเปนธุรกิจท่ีดําเนินกิจกรรมใหบริการซึ่งจะจัดหาบริการในรูปแบบตางๆ และเสนอขายบริการใหแกผูบริโภคเพื่อความสะดวกสบาย ความปลอดภัยความสนุกสนานบันเทิง ซึ่งธุรกิจบริการดังกลาวตองสามารถตอบสนองตอความตองการและสรางความพึงพอใจใหแกผูบริโภคได และผูใหบริการจะเรียกคาบริการเปนคาตอบแทน ลักษณะของธุรกิจบริการมีพอสรุปไดดังนี้

1. ธุรกิจบริการเปนธุรกิจท่ีใชบุคลากรเปนหลักในการประกอบธุรกิจ โดยธุรกิจบริการสวนใหญ จะใชพนักงานเปนหลักในการเสนอขายบริการ (Labor Intensive) มีเคร่ืองมือเปนสิ่งสนับสนุนเพื่อการใหบริการสะดวกรวดเร็วย่ิงขึ้น เชน การใหบริการ ทันตกรรมในการใหบริการตองอาศัยทันตแพทยเปนผูใหบริการ เคร่ืองมือเปนอุปกรณสนับสนุนเทานั้น

2. ธุรกิจบริการเปนธุรกิจท่ีตองการคุณภาพมากกวาปริมาณ เชน บริการดานสุขภาพและการแพทย ผูใหบริการไมสามารถรักษาคนไขไดทีละหลายๆ คน โดยเฉพาะคนไขท่ีเปนผูสูงอายุเวลาท่ีใชในการตรวจคนไขแตละรายตองเพียงพอกับอาการของโรคถานอย

13ทิศทางการใหบริการของธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ ที่สอดคลองกับความตองการของผูที่จะกาวเขาสูวัยผูสูงอายุ. หนา 7-10, http://tpso3.m-society.go.th/index.php/en/2017-05-16-15-07-24/2017-04-23-08-53-28/38-2017-09-18-06-31-27 (15 พฤษภาคม 2561).

Page 36: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

26

เกินไปจะมีผลตอคุณภาพในการรักษา บริการบางอยางการเนนเร่ืองคุณภาพอาจนอยลงเชน บริการขนสง การสื่อสาร หรือการประกันภัย แตท้ังนี้มิไดหมายความวาไมสนใจในคุณภาพ สําหรับบริการลูกคายังคงสนใจในเร่ืองการเกิดอุบัติเหตุสําหรับการโดยสารรถประจําทาง แตอาจละเลยในเร่ืองการบริการท่ีไมสุภาพ รถแนนหรือรอรถนาน เปนตน

3. ธุรกิจบริการเปนธุรกิจท่ีสนองความตองการของลูกคาเฉพาะราย เหมือนธุรกิจท่ีตองทําตามคําสั่งซื้อของลูกคาแตละรายเหมือสินคาสั่งทํา เสื้อสั่งตัด โรงพิมพสั่งพิมพโรงพยาบาลรักษาควนไขเฉพาะราย เพราะความตองการของลูกคาแตละคนยอมจะแตกตางกัน เชน บริการตัดแตงทรงผม ชางตัดผมจะตองเขาใจลูกคาแตละรายวาชอบทรงผมแบบไหน เปนตน

4. ธุรกิจบริการเปนธุรกิจท่ีมีขีดความสามารถจํากัด เนื่องจากจะตองใหบริการลูกคาแบบตัวตอตัว ไมสามารถจะกําหนดเพื่อการบริการตามท่ีตองการได คือ ไมสามารถผลิตบริการแบบการผลิตขนาดใหญได เชน รถโดยสารจุผูโดยสารไดเทาไรก็จะสามารถรับผูโดยสารไดเทานั้น โรงภาพยนตรจุผูดูไดเทาไหรก็จะรับผูดูไดเทานั้น อาจขยายการบริการไดบาง เชน เพิ่มรถโดยสารเสริมหรือเกาอี้เสริมสําหรับโรงภาพยนตรแตไมสามารถเพิ่มได เปนตน

5. ธุรกิจบริการเปนธุรกิจท่ีตองการผูใหบริการและผูบริหารท่ีมีความชํานาญเฉพาะดานหมายความวาผูใหบริการ ผูบริหารธุรกิจบริการจะตองมีความรูในตัวบริการนั้นเปนอยางดี มิฉะนั้นการดําเนินงานจะประสบความสําเร็จไดยาก ตัวอยางเชน ผูบริหารโรงพยาบาลก็ควรจะสําเร็จการศึกษาทางการแพทย เปนแพทยท่ีมีชื่อเสียงหรือเจาของรานตัดเสื้อจะตองมีความรูเร่ืองการตัดเสื้อเปนอยางดี รูจักชนิดของผาตัดเสื้อ แบบเสื้อหรือเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยท่ีตองมีความรูความเชี่ยวชาญในการรักษาความปลอดภัยเปนตน ไมเหมือนกับธุรกิจผลิตสินคา ผูบริหารสามารถจะเปล่ียนจากการบริหารธุรกิจแหงหนึ่งไปบริหารธุรกิจอีกแหงหนึ่งได โดยใชหลักในการบริการอยางเดียวกัน

ธุรกิจบริการรักษาความปลอดภัยจึงถือเปนธุรกิจบริการประเภทหนึ่งท่ีมีสินคาเปนบริการดานความปลอดภัยใหแกผูวาจางหรือผูรับบริการ ผูใหบริการและผูบริหารจะตองมีความชํานาญเฉพาะดาน ซึ่งหมายความถึง ความรู ความชํานาญ ในการบริการรักษาความปลอดภัยนั้นเอง

Page 37: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

27

- หนาท่ีตามกฎหมายของผูประกอบธุรกิจผูประกอบธุรกิจหรือผูประกอบการมีหนาท่ีจะตองดําเนินการตามกฎหมายท่ี

เก่ียวของดังนี้- การจดทะเบียนพาณิชยตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย พ.ศ.249914 มีสาระสําคัญ

ท่ีสามารถแยกอธิบายไดดังนี้1) ผูมีหนาท่ีจดทะเบียนพาณิชย

(1) บุคคลธรรมดาคนเดียว (กิจการเจาของคนเดียว)(2) หางหุนสวนสามัญ(3)นิติบุคคลท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศท่ีมาตั้งสํานักงานสาขาในประเทศไทย(4) หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล หางหุนสวนจํากัด(5) บริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด

โดยบุคคลตาม (1)-(5) ตองประกอบกิจการคาซึ่งเปนพาณิชยกิจตามท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยกําหนดตาม

2) กิจการคาท่ีเปนพาณิชยกิจท่ีตองจดทะเบียนพาณิชย(1) บุคคลธรรมดา (กิจการเจาของคนเดียว) หางหุนสวนสามัญ และนิติบุคคล

ท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศท่ีมาตั้งสํานักงานสาขาในประเทศไทย ตาม 1.1-1.3ซึ่งประกอบกิจการดังตอไปนี้ ตองจดทะเบียนพาณิชย

(ก) ผูประกอบกิจการโรงสีขาวและโรงเล่ือยท่ีใชเคร่ืองจักร(ข) ผูประกอบกิจการขายสินคาไมวาอยางใดๆ อยางเดียวหรือหลายอยาง

คิดรวมท้ังสิ้นในวันหนึ่งขายไดเปนเงินตั้งแต 20 บาทขึ้นไป หรือมีสินคาดังกลาวไวเพื่อขายมีคารวมท้ังสิ้นเปนเงินตั้งแต 500 บาทขึ้นไป

(ค) นายหนาหรือตัวแทนคาตางซึ่งทําการเก่ียวกับสินคาไมวาอยางใดๆอยางเดียวหรือหลายอยางก็ตาม และสินคานั้นมีคารวมท้ังสิ้นในวันหนึ่งวันใดเปนเงินตั้งแต 20 บาทขึ้นไป

14http://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=373 (10 ก.ค. 61).

Page 38: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

28

(ง) ผูประกอบกิจการหัตถกรรมหรืออุตสาหกรรมไมวาอยางใดๆ อยางเดียวหรือหลายอยางก็ตาม และขายสินคาท่ีผลิตได คิดราคารวมท้ังสิ้นในวันหนึ่งวันใดเปนเงินตั้งแต 20 บาทขึ้นไปหรือในวันหนึ่งวันใดมีสินคาท่ีผลิตไดมีราคารวมท้ังสิ้นตั้งแต 500 บาทขึ้นไป

(จ) ผูประกอบกิจการขนสงทางทะเล การขนสงโดยเรือกลไฟ หรือเรือยนตประจําทาง การขนสงโดยรถไฟ การขนสงโดยรถราง การขนสงโดยรถยนตประจําทางการขายทอดตลาด การรับซื้อขายท่ีดิน การใหกูยืมเงิน การรับแลกเปล่ียนหรือซื้อขายเงินตราตางประเทศ การซื้อหรือขายตั๋วเงิน การธนาคาร การโพยกวน การทําโรงรับ จํานําและการทําโรงแรม

(ฉ)ขาย ใหเชา ผลิต หรือรับจางผลิต แผนซีดี แถบบันทึก วีดีทัศน แผนวีดีทัศนดีวีดี หรือแผนวีดีทัศนระบบดิจิทัล เฉพาะท่ีเก่ียวกับการบันเทิง

(ช) ขายอัญมณี หรือเคร่ืองประดับซึ่งประดับดวยอัญมณี(ซ) ซื้อขายสินคาหรือบริการโดยวิธีการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสผานระบบ

เครือขายอินเทอรเน็ต(ฌ) บริการอินเทอรเน็ต(ญ) ใหเชาพื้นท่ีของเคร่ืองคอมพิวเตอรแมขาย(ฎ) บริการเปนตลาดกลางในการซื้อขายสินคาหรือบริการโดยวิธีการใช

สื่ออิเล็กทรอนิกสผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต(ฏ) การใหบริการเคร่ืองคอมพิวเตอรเพื่อใชอินเทอรเน็ต(ฐ) การใหบริการฟงเพลงและรองเพลงโดยคาราโอเกะ(ฑ) การใหบริการเคร่ืองเลนเกมส(ฒ) การใหบริการตูเพลง(ณ) โรงงานแปรสภาพ แกะสลัก และการหัตถกรรมจากงาชาง การคาปลีก

การคาสงงาชางและผลิตภัณฑจากงาชาง(2) หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล หางหุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด และบริษัท

มหาชน จํากัด ซึ่งประกอบกิจการดังตอไปนี้ ตองจดทะเบียนพาณิชย ไดแก

Page 39: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

29

ก. ขาย ใหเชา ผลิต หรือรับจางผลิต แผนซีดี แถบบันทึก วีดีทัศน แผนวีดีทัศนดีวีดี หรือแผนวีดีทัศนระบบดิจิทัล เฉพาะท่ีเก่ียวกับการบันเทิง

ข. ขายอัญมณีหรือเคร่ืองประดับซึ่งประดับดวยอัญมณีค. ซื้อขายสินคาหรือบริการโดยวิธีการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสผานระบบ

เครือขายอินเทอรเน็ตง. บริการอินเทอรเน็ตจ. ใหเชาพื้นท่ีของเคร่ืองคอมพิวเตอรแมขายฉ. บริการเปนตลาดกลางในการซื้อขายสินคาหรือบริการโดยวิธีการใช

สื่ออิเล็กทรอนิกสผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตช. การใหบริการเคร่ืองคอมพิวเตอรเพื่อใชอินเทอรเน็ตซ. การใหบริการฟงเพลงและรองเพลงโดยคาราโอเกะฌ. การใหบริการเคร่ืองเลนเกมสฎ. การใหบริการตูเพลงฏ. โรงงานแปรสภาพ แกะสลัก และการทําหัตถกรรมจากงาชาง การคาปลีก

การคาสงงาชาง และผลิตภัณฑจากงาชางกรณีท่ีผูประกอบพาณิชยกิจเปนคนตางดาวหรือนิติบุคคลท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศท่ีมาตั้งสํานักงานสาขาในประเทศไทยจะตองตรวจสอบดูดวยวากิจการคาท่ีดําเนินการนั้นตองไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ.2542 หรือไม หากเปนกิจการคาท่ีตองไดรับอนุญาตผูประกอบพาณิชยกิจจะตองไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการคากอนย่ืนจดทะเบียนพาณิชย

3) พาณิชยกิจท่ีไดรับการยกเวนไมตองจดทะเบียนพาณิชย ไดแก(1) การคาเร การคาแผงลอย(2) พาณิชยกิจเพื่อการบํารุงศาสนาหรือเพื่อการกุศล(3) พาณิชยกิจของนิติบุคคลซึ่งไดมีพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึ้น(4) พาณิชยกิจของกระทรวง ทบวง กรม(5) พาณิชยกิจของมูลนิธิ สมาคม สหกรณ

Page 40: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

30

(6) พาณิชยกิจของกลุมเกษตรกรท่ีไดจดทะเบียนตาม ปว.141 ลงวันท่ี 1 พฤษภาคม2515

4) สถานท่ีจดทะเบียน แบงตามพื้นท่ีการจดทะเบียนดังนี้(1) ในเขตกรุงเทพมหานคร ย่ืนจดทะเบียนพาณิชยไดท่ี

ก. สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง สํานักการคลัง กรุงเทพมหานคร รับจดทะเบียนพาณิชยกิจของผูประกอบพาณิชยกิจ ท่ีมีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร

ข. ฝายปกครอง สํานักงานเขตทุกแหง รับจดทะเบียนพาณิชยกิจของผูประกอบพาณิชยกิจ ท่ีมีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูในทองท่ีของเขตนั้น

(2)ในภูมิภาค ย่ืนจดทะเบียนไดท่ีเทศบาล องคการบริหารสวนตําบล หรือเมืองพัทยารับจดทะเบียนพาณิชยของผูประกอบพาณิชยกิจท่ีมีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูในทองท่ีเทศบาล องคการบริหารสวนตําบล หรือเมืองพัทยาแลวแตกรณี

5) กําหนดระยะเวลาการจดทะเบียนพาณิชย(1) จดทะเบียนพาณิชยตั้งใหม ตองจดทะเบียนภายใน 30 วันนับแตวันเร่ิมประกอบ

พาณิชยกิจ(2) การเปล่ียนแปลงรายการจดทะเบียน ตองจดทะเบียนภายใน 30 วันนับแต

วันท่ีมีการเปล่ียนแปลง ตามรายการเปล่ียนแปลง ดังนี้ก. เปล่ียนชื่อท่ีใชในการประกอบพาณิชยกิจข. เลิกประกอบพาณิชยกิจบางสวน หรือเพิ่มใหมค. เพิ่มหรือลดเงินทุนง. ยายสํานักงานใหญจ. เปล่ียนผูจัดการฉ. เจาของหรือผูจัดการเปล่ียนท่ีอยูช. ยาย เลิก หรือเพิ่มสาขา โรงเก็บสินคา หรือตัวแทนคาตางซ. แกไขเพิ่มเติมผูเปนหุนสวน (หุนสวนเขา/ออก) เงินลงหุน จํานวนเงิน

ลงทุนของหางฌ. จํานวนเงินทุน จํานวนหุน และมูลคาหุนของบริษัทจํากัด จํานวนและ

มูลคาหุนท่ีบุคคลแตละสัญชาติถืออยู

Page 41: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

31

ฎ. รายการอื่นๆ เชน แกไขชื่อเว็บไซต ชื่ออักษรโรมัน ฯลฯ(3) เลิกประกอบพาณิชยกิจตองจดทะเบียนภายใน 30 วันนับแตวันท่ีเลิก

ประกอบพาณิชยกิจ(4) ใบทะเบียนพาณิชยสูญหายตองย่ืนขอใบแทนภายใน 30 วันนับแตวันสูญหาย

6) หนาท่ีของผูประกอบพาณิชยกิจ(1) ตองขอจดทะเบียนตอนายทะเบียนภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีเร่ิมประกอบ

เปล่ียนแปลงหรือเลิกกิจการ(2) ตองแสดงใบทะเบียนพาณิชยหรือใบแทนใบทะเบียนพาณิชยไว ณ สํานักงาน

ในท่ีเปดเผยและเห็นไดงาย(3) ตองจัดใหมีปายชื่อท่ีใชในการประกอบพาณิชยกิจไวหนาสํานักงานแหงใหญ

และสํานักงานสาขาโดย เปดเผยภายในเวลา 30 วันนับแตวันท่ีจดทะเบียนพาณิชย ปายชื่อใหเขียนเปนอักษรไทย อานงายและชัดเจน จะมีอักษร ตางประเทศในปายชื่อดวยก็ไดและจะตองตรงกับชื่อท่ีจดทะเบียนไว หากเปนสํานักงานสาขาจะตองมีคําวา "สาขา" ไวดวย

(4) ตองย่ืนคําขอใบแทนใบทะเบียนพาณิชย ภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีสูญหายหรือชํารุด

(5) ตองไปใหขอเท็จจริงเก่ียวกับรายการจดทะเบียนตามคําสั่งของนายทะเบียน(6) ตองอํานวยความสะดวกแกนายทะเบียนและพนักงานเจาหนาท่ีซึ่งเขาทํา

การตรวจสอบในสํานักงานของผูประกอบกิจการ7) บทกําหนดโทษ การไมดําเนินการตามกฎหมายท่ีบัญญัติไวในการจดทะเบียน

พาณิชยมีโทษดังนี้(1) ประกอบพาณิชยกิจโดยไมจดทะเบียน แสดงรายการเท็จ ไมยอมให

ถอยคํา ไมยอมใหพนักงานเจาหนาท่ีเขาไปตรวจสอบในสํานักงาน มีความผิดตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 บาท กรณีไมจดทะเบียนอันเปนความผิด ตอเนื่องปรับอีกวันละไมเกิน 100 บาท จนกวาจะไดปฏิบัติใหเปนไปตามพระราชบัญญัติ

(2) ถาใบทะเบียนพาณิชยสูญหายไมย่ืนคํารองขอใบรับแทน หรือไมแสดงใบทะเบียนพาณิชยไวท่ีสํานักงาน ท่ีเห็นไดงาย ไมจัดทําปายชื่อ มีความผิดปรับไมเกิน

Page 42: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

32

200 บาท และถาเปนความผิดตอเนื่อง ปรับอีกวันละไมเกิน 20 บาท จนกวาจะไดปฏิบัติใหถูกตอง

(3) ผูประกอบพาณิชยกิจซึ่งกระทําการฉอโกงประชาชน ปนสินคาโดยเจตนาทุจริต ปลอมสินคา หรือกระทําการทุจริตอื่นใดอยางรายแรงในการประกอบกิจการจะถูกถอนใบทะเบียนพาณิชย เมื่อถูกสั่งถอนใบทะเบียน พาณิชยแลวจะประกอบกิจการตอไปไมได เวนแตรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยจะสั่งใหรับจดทะเบียนพาณิชยใหม

(4) ผูประกอบพาณิชยกิจท่ีถูกสั่งถอนใบทะเบียนพาณิชยแลว ยังฝาฝนประกอบพาณิชยกิจตอไป มีความผิดตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือท้ังปรับท้ังจํา

8) คาธรรมเนียมการจดทะเบียนพาณิชย การขอดําเนินการตาม พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชยฯ จะตองเสียคาธรรมเนียมตามประเภทของการดําเนินการดังตอไปนี้

(1) จดทะเบียนพาณิชยตั้งใหม 50 บาท(2) จดทะเบียนเปล่ียนแปลงรายการจดทะเบียน คร้ังละ 20 บาท(3) จดทะเบียนเลิกประกอบพาณิชยกิจ 20 บาท(4) ขอใหออกใบแทนใบทะเบียนพาณิชย ฉบับละ 30 บาท(5) ขอตรวจเอกสารของผูประกอบพาณิชยกิจรายหนึ่ง คร้ังละ 20 บาท(6) ขอใหเจาหนาท่ีคัดสําเนาและรับรองสําเนาเอกสารของผูประกอบพาณิชยกิจ

ฉบับละ 30 บาท (หนึ่งคําขอคิดเปนหนึ่งฉบับ)2. การเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดนิติบุคคล เปนภาษีอากรประเภทหนึ่ง

ท่ีบัญญัติไวในประมวลรัษฎากร จัดเก็บจากเงินไดของบริษัท หรือ หางหุนสวนนิติบุคคลมีหลักการจัดเก็บท่ีสําคัญๆ โดยลําดับดังนี้

1) ผูมีหนาท่ีเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล15 ผูมีหนาท่ีเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล ไดแกบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ท่ีจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

15http://www.rd.go.th/publish/835.0.html, (17 พฤษภาคม 2561).

Page 43: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

33

และหมายความรวมถึงนิติบุคคลอื่นๆ ท่ีไมไดจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ดวย ดังนี้

(1) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลท่ีมีหนาท่ีเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล มีดังนี้ก. บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ไดแก

ก) บริษัท จํากัดข) บริษัทมหาชน จํากัดค) หางหุนสวนจํากัดง) หางหุนสวนสามัญจดทะเบียน

ข. บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศ ซึ่งมีหนาท่ีเสียภาษีเงินไดนิติบุคคลในประเทศไทย ก็ตอเมื่อเขาเง่ือนไขขอใดขอหนึ่ง ดังตอไปนี้

ก) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น เขามากระทํากิจการในประเทศไทย (มาตรา 66 วรรคแรก แหงประมวลรัษฎากร)

ข) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น กระทํากิจการในท่ีอื่นๆรวมท้ังในประเทศไทย (มาตรา 66 วรรคสอง แหงประมวลรัษฎากร)

ค) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น กระทํากิจการอื่นๆรวมท้ังในประเทศไทยและกิจการท่ีกระทํานั้นเปนกิจการขนสงระหวางประเทศ (มาตรา 67แหงประมวลรัษฎากร)

ง) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น มิไดประกอบกิจการในประเทศไทย แตไดรับเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) หรือ (6) ท่ีจายจากหรือในประเทศไทย (มาตรา 70)

จ) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศท่ีเสียภาษีเงินไดนิติบุคคลในประเทศไทย ตามมาตรา 76 วรรคสอง และมาตรา 76 ทวิ แหงประมวลรัษฎากร ไดจําหนายเงินกําไรหรือเงินประเภทอื่นท่ีกันไวจากกําไร หรือถือไดวาเปนเงินกําไรออกไปจากประเทศไทย (มาตรา 70 ทวิ แหงประมวลรัษฎากร)

ฉ) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตางประเทศนั้น มิไดเขามาทํากิจการในประเทศไทยโดยตรง หากแตมีลูกจางหรือผูทําการแทนหรือผูทําการติดตอ ในการ

Page 44: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

34

ประกอบกิจการในประเทศไทย ซึ่งเปนเหตุใหไดรับเงินไดหรือผลกําไรในประเทศไทย(มาตรา 76 ทว)ิ

ค. กิจการซึ่งดําเนินการเปนทางคา หรือหากําไร โดยก) รัฐบาลตางประเทศข) องคการของรัฐบาลตางประเทศค) นิติบุคคลอื่นท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายของตางประเทศ

ง. กิจการรวมคา (Joint Venture) ไดแก กิจการท่ีดําเนินการรวมกันเปนทางคาหรือหากําไร ระหวางบุคคลดังตอไปนี้คือ

ก) บริษัทกับบริษัทข) บริษัทกับหางหุนสวนนิติบุคคลค) หางหุนสวนนิติบุคคลกับหางหุนสวนนิติบุคคลง) บริษัทและหรือหางหุนสวนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดาจ) บริษัทและหรือหางหุนสวนนิติบุคคลกับคณะบุคคลท่ีมิใชนิติบุคคลฉ) บริษัทและหรือหางหุนสวนนิติบุคคลกับหางหุนสวนสามัญช) บริษัทและหรือหางหุนสวนนิติบุคคลกับนิติบุคคลอื่นจ. มูลนิธิหรือสมาคมท่ีประกอบกิจการซึ่งมีรายไดแตไมรวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม

ท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนองคการหรือสถานสาธารณกุศลฉ. นิติบุคคลท่ีอธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ใหเปนบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร(2)นิติบุคคลท่ีไมตองเสียภาษีเงินได16 นิติบุคคลอื่น ๆเฉพาะท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

เชน กระทรวง ทบวง กรม องคการ ของรัฐบาลหรือสหกรณ ไมมีหนาท่ีตองเสียภาษีเงินไดนิติบุคคลแตอยางใด แตยังมีนิติบุคคลอีกบางประเภทท่ีเขาลักษณะตองเสียภาษีเงินไดนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร แตไดรับการยกเวนตามบทบัญญัติของกฎหมายตางๆไดแก

16http://www.rd.go.th/publish/834.0.html, (17 พฤษภาคม 2561).

Page 45: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

35

ก. บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตามขอผูกพันท่ีประเทศไทยมีอยูตามสัญญาวาดวยความรวมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลตางประเทศ

ข. บริษัทจํากัดท่ีไดรับการยกเวนภาษีเงินไดตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน

ค. บริษัทจํากัดและนิติบุคคลท่ีมีสภาพเชนเดียวกับบริษัทจํากัดซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายตาง ประเทศไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม

ง. บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลท่ีอยูในประเทศท่ีมีอนุสัญญาวาดวยการเวนการเก็บภาษีซอนกับประเทศไทย ตามเง่ือนไขท่ีกําหนดในอนุสัญญา

3) ฐานภาษีของภาษีเงินไดนิติบุคคล17 ภาษีเงินไดนิติบุคคล คํานวณจากเงินไดท่ีใชเปนหลักฐานในการคํานวณภาษีคูณดวยอัตราภาษีท่ีกําหนด ดังนั้น เงินไดท่ีตองเสียภาษีเงินไดนิติบุคคลหรือฐานภาษีเงินไดนิติบุคคลนั้น โดยท่ัวไปไดแกกําไรสุทธิ ท่ีคํานวณตามเง่ือนไขท่ีกําหนด แตเพื่อความเปนธรรมและอุดชองวางในการจัดเก็บภาษีเงินไดจึงไดมี การบัญญัติจัดเก็บภาษีเงินได นิติบุคคล จากเงินไดหรือฐานภาษี ท่ีแตกตางกัน ดังนี้

(1) กําไรสุทธิ(2) ยอดรายไดกอนหักรายจาย(3) เงินไดท่ีจายจากหรือในประเทศไทย(4) การจําหนายเงินกําไรออกไปจากประเทศไทย

3. หนาท่ีการเปนนายจาง ในการประกอบธุรกิจจะตองมีลูกจางเพื่อดําเนินธุรกิจ ดังนั้นผูประกอบธุรกิจจึงอยูในฐานะนายจางซึ่งมีหนาท่ีตามกฎหมายดังนี้

1) หนาท่ี ตามสัญญาจางแรงงาน จายสินจางเพื่อตอบแทนการทํางานตลอดเวลาท่ีลูกจางทํางานให (หากไมทําไมตองจาย) ยกเวนมีกฎหมายกําหนดใหจาย เชน วันหยุดประจําสัปดาห วันหยุดพักผอนประจําป วันหยุดตามประเพณี ปวยเทาท่ีปวยจริงแตไมเกิน 30 วัน ลาทําหมันโดยมีใบรับรอง ลาคลอดบุตรได 90 วัน แตจายไมเกิน 45 วัน ถูกเรียก

17http://www.rd.go.th/publish/833.0.html, (17 พฤษภาคม 2561).

Page 46: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

36

พลฝกวิชาทหารจายไมเกิน 60 วัน ลูกจางเด็กลาฝกอบรม จายไมเกิน 30 วัน หากนายจางไมมีงานใหลูกจางทํา เชน นายจางไมไดรับอนุญาต ยังตองจายจนกวาจะบอกเลิกสัญญามี พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน หากนายจางจําเปนตองหยุดกิจการท้ังหมดหรือบางสวน หรือชั่วคราวโดยมิใชเหตุสุดวิสัย ตองจายเงินแกลูกจางไมนอยกวา รอยละ 50 ของคาจางในวันทํางาน

2) มีหนาท่ีตามกฎหมายอื่น เชน กฎหมายประกันสังคม กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน และวุฒิสภา เปนตน ซึ่งสําหรับกฎหมายประกันสังคม18 เปนการสรางหลักประกันสังคมในการดํารงชีวิตในกลุมของสมาชิกท่ีมีรายไดและจายเงินสมทบเขากองทุนประกันสังคมเพื่อรับผิดชอบในการเฉล่ียความเสี่ยงผูประกันตน หมายถึง ลูกจางท่ีมีอายุไมต่ํากวา 15 ป บริบูรณในวันเขาทํางานและทํางานอยูในสถานประกอบการท่ีมีลูกจางตั้งแต 1 คนขึ้นไป อันมีเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ซึ่งคือเงินท่ีนายจาง ลูกจาง จะตองนําสงเขากองทุนประกันสังคมทุกเดือนหลักเกณฑและสิทธิประโยชน ดังนี้

(1) กรณีเจ็บปวยท่ัวไป ประสบอันตราย ผูประกันตนมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลท่ีเลือกโดยไมเสียคาใชจายใดๆ และไดรับเงินทดแทนการขาดรายไดระหวางท่ีหยุดพักรักษาตัวตามคําสั่งแพทยในจํานวนคร่ึงหนึ่งของคาจางตามจํานวนวันท่ีหยุดจริง ไมเกินคร้ังละ 90 วัน และไมเกิน 180 วัน ในหนึ่งป หากเจ็บปวยเร้ือรังจะไดรับเงินทดแทนการขาดรายไดไมเกิน 365 วัน

(2) กรณีเจ็บปวยฉุกเฉินก. ผูปวยนอกสามารถเบิกคารักษาพยาบาลไดเทาท่ีจายจริงตามความจําเปนข. ผูปวยในสามารถเบิกคารักษาพยาบาลไดเทาท่ีจายจริงตามความจําเปน

ภายในระยะเวลาไมเกิน 72 ชั่วโมง ยกเวน คาหองและคาอาหารเบิกไมเกินวันละ 700 บาท

18sites.google.com/site/natpatai24456/hnwy-thi6-kdhmay-thi-keiywkhxng-kab-kar-pen-phu-prakxb-kar, (10 ก.ค. 61).

Page 47: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

37

ค. กรณีประสบอันตราย หรือบาดเจ็บฉุกเฉิน หากผูประกันตนไดรับอุบัติเหตุไดรับบาดเจ็บฉุกเฉินผูประกันตนสามารถเขารับการรักษาในโรงพยาบาลท่ีไมไดระบุไวตามบัตรรับรองสิทธิได โดยแจงใหโรงพยาบาลตามบัตรรับรองสิทธิทรายดวยโดยเร็ว

ง. กรณีประสงคจะทําหมัน ผูประกันตนสามารถเขาทําหมันได ในโรงพยาบาลตามบัตรรับรองสิทธิการรักษาพยาบาลท่ีผูประกันตนเลือกไวในสถานพยาบาลนั้นๆ

จ. กรณีทันตกรรมผูประกันตนสามารถย่ืนเร่ืองขอเบิกสิทธิประโยชนกรณีทันตกรรมภายในปท่ีเขารับบริการทางการแพทยไดภายในระยะเวลา 1 ป โดยนับตั้งแตวันท่ีเขารับบริการทางการแพทยท่ีระบุในใบรับรองแพทยเปนหลัก

ฉ. กรณีคลอดบุตร ผูท่ีสามารถเบิกคาคลอดบุตรในแตละคร้ังไดตองเปนผูท่ีจายเงินสมทบครบ 7 เดือน ภายใน 15 เดือน เดือนคลอดบุตร

ช. กรณีทุพพลภาพ ผูประกันตนท่ีประสบอุบัติเหตุทุพพลภาพ เชน ปวยเปนโรคเบาหวานและมีภาวะแทรกซอนทําใหตาบอดท้ัง 2 ขาง หรือประสบอันตรายจนถึงขั้นทุพพลภาพและไมสามารถทํางานไดสามารถขอรับเงินชดเชยได แตตองเปนผูท่ีจายเงินสมทบมาครบ 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน กอนท่ีสํานักงานประกันสังคมกําหนดใหเปนผูทุพพลภาพ ท้ังนี้ สิทธิท่ีผูทุพพลภาพจะไดรับประกอบดวย

ซ. กรณีเสียชีวิต ผูประกันตนท่ีเสียชีวิตจากสาเหตุท่ีไมเก่ียวกับการทํางานและจายเงินสมทบมาแลว 1 เดือน ภายในระยะเวลา 6 เดือน กอนเดือนท่ีเสียชีวิต

ฌ. กรณีวางงาน หากผูกันตนไดจายเงินสมทบมาแลวไมนอยกวา 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน กอนการวางงาน สามารถติดตอขอรับเงินชดเชยกรณีวางงานได โดยตองขึ้นทะเบียนผูวางงานท่ีสํานักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วันนับตั้งแตวันท่ีวางงานโดยไมตองรอหนังสือรับรองการออกจากงาน และตองรายงานตัวตอเจาหนาท่ีสํานักจัดหางานไมนอยกวาเดือนละ 1 คร้ัง

(3) หนาท่ีอื่นๆ สงมอบงานใหลูกจาง ดูแลความปลอดภัย ใหสวัสดิการในการทํางานหนาท่ีตามหลักกฎหมายละเมิด และกฎหมายคุมครองแรงงาน ปฏิบัติอยางเสมอภาคจายเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน และกองทุนสงเคราะหลูกจาง กรณีลูกจาง 40 คน ขึ้นไปตองรับผิดรวมกับลูกจางตอบุคคลภายนอก สําหรับการทําละเมิดในทางการท่ีจางของ

Page 48: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

38

ลูกจาง ออกใบสําคัญแสดงการทํางานของลูกจางเมื่อสัญญาสิ้นสุด ออกคาเดินทางขากลับจายคาชดเชยเมื่อเลิกจาง คาชดเชยพิเศษกรณีตามกฎหมาย

2.3 ทฤษฎีเก่ียวกับบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจ

ธุรกิจเปนรูปแบบของการแขงขันในภาคเอกชนแตโดยท่ีธุรกิจเอกชนไมวาในภาคสินคาหรือบริการ จะตองเก่ียวของกับผูบริโภคในฐานะผูซื้อสินคาหรือผูใชบริการซึ่งโดยนิติสัมพันธระหวางผูผลิตสินคา ผูจําหนาย ผูขายปลีก หรือผูขายสินคาในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ หรือผูใหบริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพแลว ผูบริโภคจะอยูในฐานะท่ีมีอํานาจตอรองนอยกวาแนวคิดในการคุมครองผูบริโภคโดยมาตรการทางกฎหมายจึงตองเขาไปแทรกแซงทางเศรษฐกิจในรูปแบบตางๆ ไมวาการจดทะเบียน หรือการควบคุมการประกอบธุรกิจ ซึ่งจะเปนไปตามแนวคิดทฤษฎีตางๆ

2.3.1 ทฤษฎีใหองคกรฝายบริหารควบคุมผูประกอบธุรกิจโดยจดทะเบียนและออกใบอนุญาตทฤษฎีนี้เปนทฤษฎีท่ีใหฝายบริหารเขามาควบคุมการทําสัญญาของเอกชนเพื่อไมใหเอารัดเอาเปรียบกันเรียกวา “Administration” คือ การท่ีใหอํานาจแกเจาท่ีบานเมืองเขามาแทรกแซงการทํานิติกรรมสัญญา โดยวิธีการออกใบอนุญาต วิธีการนี้เปนวิธีท่ีใชในรัฐท่ีมีระบบเผด็จการเปนสวนใหญ แตในประเทศอื่นๆ วิธีการนี้ก็จะเปนวิธีการท่ีจะเปดโอกาสใหเจาหนาท่ีบานเมือง ทําหนาท่ีตอตานกับรางกฎหมายท่ีรางขึ้นโดยเอกชนและอํานาจผูกขาดของเอกชน จึงเปนวิธีท่ีองคการฝายบริหารเขาไปแทรกแซงหลักท่ีวาดวย Freedom of Contract ในการทําสัญญา

อังกฤษเปนประเทศหนึ่งท่ีใชทฤษฎีใหองคกรฝายบริหารควบคุมผูประกอบธุรกิจ รัฐบาลอังกฤษไดเล็งเห็นวาธุรกิจการซื้อขายสินคาโดยการใหสินเชื่อแกผูบริโภค(Consumer Credit) ไดแพรหลายอยางรวดเร็ว และเปนท่ีนิยมของประชาชนท่ัวไปอยางกวางขวาง แตกฎหมายท่ีใชอยู เชน The Bill of Sale Acts และ The Money Lenders Acts

Page 49: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

39

ไมไดครอบคลุมถึงสัญญาท่ีทําขึ้นกับผูบริโภค 19 ฉะนั้น เพื่อหามาตรการคุมครองผูบริโภคไดแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่งเรียกวา The Committee of Consumer Creditในป 1969 เพื่อวิเคราะหปญญาดังกลาว ตอมาในป 1971 คณะกรรมการดังกลาวไดเสนอรายงานตอรัฐบาล เพื่อชี้ใหเห็นถึงขอบกพรองอันเกิดจากกฎหมายท่ีใชอยูคือกฎหมายเกาเนนเร่ืองรูปแบบ (Form) ของสัญญาโดยไมคํานึงถึงสาระสําคัญ (Function) ของสัญญากลาวคือกูยืมเงินเพื่อซื้อสินคา และซื้อสินคาเงินเชื่อโดยการเชาหรือซื้อผอนสง สัญญากูยืมอยูภายใตบทบัญญัติวาดวยกูยืมเงินแตการซื้อขายท่ีเอาสินคาเปนหลักประกันในการชําระราคานั้น กลับอยูภายใตกฎหมายวาดวยการซื้อสินคาเงินเชื่อสัญญาเชาซื้อและสัญญาผอนสงจึงไมไดรับความคุมครอง ตามกฎหมายวาดวยกูยืมเงิน ตอมาในป 1974 รัฐบาลอังกฤษจึงไดประกาศใชกฎหมายคุมครองผูบริโภค The Consumer Credit Acts 1974กฎหมายฉบับนี้เนนถึงสาระสําคัญของสัญญา (Function) มากกวา (Form) โดยมาตรการคุมครองผูบริโภคจะเปนระบบวาดวยการขอใบอนุญาต (Licensing System) เพราะกฎหมายเกาไมไดมีบทบัญญัติใหผูประกอบการตองขอออกใบอนุญาตจึงขาดมาตรการควบคุม ตามกฎหมายเดิมจึงไมมีหนวยงานท่ีมีอํานาจทําการควบคุมการดําเนินธุรกิจเก่ียวกับผูบริโภคท้ังกฎหมายใหมยังมีบทบัญญัติเก่ียวกับการควบคุมการโฆษณา ควบคุมรูปแบบและเนื้อหาของสัญญาดวย

2.3.2 ทฤษฎีมอบอํานาจใหองคกรฝายบริหารตรวจสัญญาและใหมีการตั้งสมาคมการคาและสมาคมคุมครองผูบริโภค ปจจุบันมีสัญญามาตรฐาน (Standard Contract)ไดใชกันอยางแพรหลายในวงการธุรกิจท่ัวไป โดยหลักแลวสัญญามาตรฐานนั้นจะเปนการอํานวยความสะดวกแกคูสัญญา เปนการลดปญหาท่ีตองมาเจรจาตอรองเง่ือนไขสัญญาแตวาสัญญามาตรฐานท่ีพิมพขึ้นโดยฝายผูประกอบธุรกิจนั้น ขอสัญญาและเง่ือนไขตางๆไดถูกกําหนดขึ้นมาโดยคูสัญญาฝายท่ีมีอํานาจตอรองเพียงฝายเดียวเทานั้น ฝายผูบริโภคเพียงแตเขามาทําสัญญาเทานั้น ยอมรับผลตามสัญญาท่ีทําขึ้นเทานั้น ยอมเกิดเง่ือนไขใน

19อมรรัตน ลัคนหิน. “การคุมครองผูบริโภคในดานสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพยที่มีเงื่อนไขเกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์ .”. (วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,2526), หนา 22.

Page 50: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

40

สัญญาท่ีไมเปนธรรมขึ้น จึงมีนักกฎหมายใหความเห็นกันวาสัญญาท่ีทําขึ้นระหวางนักธุรกิจกับบุคคลธรรมดา20 ซึ่งมีฐานะและอํานาจตอรองท่ีไมเทาเทียมกันนั้น ควรท่ีจะมีอํานาจท่ีอยูเหนือกวานักธุรกิจทําหนาท่ีเปนผูกําหนดกฎเกณฑ และวิธีการประพฤติปฏิบัติของนักธุรกิจท่ีมีตอประชาชน กลาวคือ หากรัฐยังปลอยใหคูสัญญาทําสัญญากันไดโดยเสรีสามารถตกลงกําหนดเง่ือนไขตางๆ ขึ้นใหแตกตางหรือเปล่ียนแปลง หรือลบลางกฎหมายไดการใชเสรีภาพในการทําสัญญา ในวงการธุรกิจอยางผิดๆ หากรัฐไมหาวิธีการแกไขหรือมาตรการควบคุมแลวประชาชนจํานวนมากก็จะไมถูกบังคับใหจําตองปฏิบัติตามเง่ือนไขของสัญญาท่ีตนไมเคยทราบรายละเอียดของเง่ือนไขมากอน และเปนเง่ือนไขท่ีเอกชนกําหนดขึ้นเอง โดยปราศจากความรับผิดชอบตอสังคมและมุงหวังเฉพาะผลประโยชนของตนเทานั้น รัฐจึงควรย่ืนมือเขาไปพิทักษรักษาผลประโยชนของฝายท่ีออนแอกวา

บทบาทของรัฐท่ีมีอยู ไดแก การเปนผูใหคําแนะนําในการบัญญัติกฎหมาย เชนกฎหมายวาดวย Statutory Form of Condition of Sell of Land ไดบัญญัติกฎหมายออกมาโดย Lord Chancellor โดยอาศัยอํานาจตามมาตรา 46 ของ The Law Property Act 1925นอกจากนี้รัฐก็ทําหนาท่ีเปนสื่อกลางของคูสัญญา เพื่อท่ีจะออกคําสั่งใหคูสัญญาหาขอยุติกัน เชน บทบัญญัติวาดวย Collective Labor Agreements ในประเทศสหพันธรัฐเยอรมันนีในป 1918 ในประเทศอังกฤษ สาธารณรัฐฝร่ังเศส นอกจากนี้รัฐยังออกขอบังคับเก่ียวกับเง่ือนไขตางๆ ในสัญญาได เชน สัญญาประกันภัยในประเทศออสเตรเลีย และรัสเซียซึ่งนอกจากวิธีดังกลาวแลว อีกอยางหนึ่งในการควบคุมสมาคมการคา (Trade Association)และสมาคมผูบริโภค (Consumer Association) ทําหนาท่ีเปนผูเจรจาตอรองในการกําหนดขอสัญญามาตรฐานอีกชั้นหนึ่ง21

สําหรับการใชทฤษฎีใหอํานาจฝายบริหารตรวจสัญญานั้นวิธีการควบคุมสัญญามาตรฐานโดยฝายบริหาร เรียกวา “Administration Control” เปนวิธีท่ีใชกลไกของฝายบริหารเขามาแกปญหา โดยวิธีการใหรัฐตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่ง ทําหนาท่ีตรวจสอบสัญญาและการใหความเห็นเก่ียวกับขอกําหนดสัญญามาตรฐาน มาตรการดังกลาวนี้ ตางประเทศ

20อมรรัตน ลัคนหิน. เร่ืองเดียวกัน. หนา 67.21อมรรัตน ลัคนหิน. เร่ืองเดียวกัน. หนา 68.

Page 51: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

41

ไดนํามาใชอยางแพรหลายในสัญญาวาดวยการขนสงและสัญญาประกันภัยมาตรการควบคุมดังกลาวนี้ก็ไดแพรหลายไปยังประเทศตางๆ โดยท่ีทฤษฎีวาดวย Adhesion Contractมีผลตอแนวคิดของนักกฎหมายเยอรมันโดยการทําสัญญาระหวางนักธุรกิจและบุคคลธรรมดา เมื่อมีปญหาขอสัญญาท่ีไมเปนธรรมเกิดขึ้น การแกปญหาดังกลาวจึงควรท่ีจะมีผูมีอํานาจเหนือกวานักธุรกิจ ทําหนาท่ีออกระเบียบหรือกฎสําหรับใชในการทําสัญญาสําเร็จรูป โดยมุงท่ีจะคุมครองฝายประชาชนในฐานะท่ีเปนผูบริโภคเพราะเปนฝายท่ีเสียเปรียบในสัญญาใหคูสัญญา

2.3.3 บทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจ การประกอบธุรกิจในปจจุบันนั้นนอกจากผูประกอบธุรกิจจะตองปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเก่ียวของแลว รัฐเขามาควบคุมการประกอบธุรกิจ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมทางการคา และความปลอดภัยในการบริโภคโดยเฉพาะการคุมครองผูบริโภคภาครัฐจะเขามาควบคุมดูแลโดยกลไกของกฎหมายตั้งแตกระบวนการผลิต เชน สินคาบางชนิดจะตองขออนุญาต การกําหนดราคาจะมีกฎหมายจํากัดเสรีภาพในการกําหนดราคา การจําหนายอาจจะถูกกํากับโดยจะตองขออนุญาตการโฆษณาสินคาก็มีกฎหมายควบคุมกํากับการใชขอความ วิธีการโฆษณ ารวมท้ังสินคาหรือบริการบางชนิด จะตองขออนุญาตกอนทําการโฆษณา นอกจากนี้เมื่อจําหนายสินคาหรือบริการแลวเกิดความเสียหายจากสินคาหรือบริการท่ีใชผิดวิธี หรือพิสูจนไดตามขอยกเวนของกฎหมาย22

ในขณะท่ีเมื่อธุรกิจไดมีการพัฒนากลยุทธทางดานการตลาด กาวไปสูระบบการขายตรงหรือตลาดแบบตรง การขายตรงและตลาดแบบตรง ก็ขยายตัวและเติบโตอยางรวดเร็ว ผูซื้อสินคาหรือผูใชบริการจากการจัดจําหนายในระบบนี้ ก็ถูกเอารัดเอาเปรียบจากการขายตรง รัฐก็แสดงหามาตรการทางกฎหมายใหมๆ มาควบคุมการขายในระบบนี้อีก เพื่อวัตถุประสงคท่ีจะคุมครองการขายตรงไมใหมีการเอาเปรียบผูบริโภคเชนกัน

ดังนั้น การท่ีรัฐเขามาควบคุมการประกอบธุรกิจ จึงเปนการคุมครองผูบริโภคท่ีจะไดรับผลกระทบ การควบคุมธุรกิจดังกลาวขางตน จึงเปนไปเพื่อวัตถุประสงคในการ

22สุษม ศุภนิตย. “คําอธิบายการจัดจําหนายในระบบขายตรงและการทําตลาดแบบสงขอมูลถึงตัวผูบริโภคโดยตรง.” (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเดือนตุลา, 2547),หนา 28.

Page 52: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

42

คุมครองผูบริโภคท่ีจะใหไดรับความปลอดภัยสูงสุดในการบริโภคสินคาหรือใชบริการนั่นเอง

2.4 ความเปนมาแนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกับการคุมครองสิทธิของผูบริโภค

การศึกษาเก่ียวกับธุรกิจรักษาความปลอดภัยมีแนวคิดและทฤษฎีหลายประการท่ีนําไปสูการคุมครองผูประกอบธุรกิจ และนําไปสูความสัมพันธของผูประกอบธุรกิจกับผูรับบริการ ผูเขียนจึงนํามาศึกษาเพื่อประกอบการวิเคราะหปญหาจากการประกอบธุรกิจดังกลาวดังตอไปนี้

2.4.1 ความเปนมาและแนวคิดเก่ียวกับการคุมครองสิทธิของผูบริโภค การคุมครองผูบริโภคในประเทศไทยเดิมมิไดเร่ิมตนดวยการวางระบบงานแตเปนเร่ืองท่ีรัฐบาลแกปญหาเฉพาะหนาท่ีจะตองคุมครองผูบริโภคจากการประกอบกิจการผลิตและการซื้อขายสินคา หรือบริการ หลักกฎหมายท่ีวา ผูซื้อตองระวัง (Caveat Emptor) ไมสามารถจะใชไดอีกตอไป จะเห็นไดจากการท่ีรัฐบาลไดมีการออกกฎหมายแกปญหาตางๆ เปนกรณีๆ ไป และในสวนราชการท่ีเก่ียวของกับเร่ืองแตละเร่ืองเปนผูรับผิดชอบโดยยังไมไดคิดท่ีจะวางแผนใหมีการรับรองสิทธิท่ัวไปของผูบริโภค (General Right of the Consumer)และจัดตั้งองคกรกลาง (Central Agency) ขึ้นมาพิทักษสิทธิดังกลาวกฎหมายท่ีไดมีการบัญญัติขึ้นเหลานั้นลวนมีลักษณะเปนกฎหมายท่ีมีความมุงหมายเพื่อคุมครองประชาชนใหไดรับความปลอดภัย เชน พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.2470 พระราชบัญญัติควบคุมการขายยา พ.ศ.2479 พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.2484 พระราชบัญญัติควบคุมอาหาร พ.ศ.2484 พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 พระราชบัญญัติเคร่ืองสําอาง พ.ศ.2517พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2522 เปนตน กฎหมายเหลานี้มีลักษณะกําหนดอํานาจหนาท่ีรัฐในการควบคุมกํากับผูประกอบธุรกิจท่ีเก่ียวของกับเคร่ืองอุปโภคของประชาชนใหตองปฏิบัติตามกฎเกณฑท่ีกําหนดไว แตยังมีการบัญญัติถึงการเยียวยาชดใชหาเกิดความ

Page 53: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

43

เสียหายอันเนื่องมาจากการบริโภค ลักษณะของกฎหมายและวิธีบังคับการตามกฎหมายตางๆ ดังกลาวมิไดบัญญัติขึ้นเพื่อคุมครองผูบริโภคโดยตรง23

จากคําประกาศสิทธิขั้นพื้นฐานของผูบริโภค (Consumer Bill of Rights) โดยประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา จอหน เอฟ เคเนดี้ (John F.Kennedy) ในป 1962 ซึ่งถือวาเปนการเร่ิมตนอยางเปนทางการของการคุมครองผูบริโภคในประเทศสหรัฐอเมริกาและไดกลายเปนพื้นฐานของธุรกิจตลอดจนองคกรตางๆ ของรัฐนํามาใชในการกําหนดนโยบายสิทธิพื้นฐานของผูบริโภคดังกลาวเปนการคุมครองผูบริโภค 4 ประการ คือ24

1) สิทธิท่ีจะไดรับความปลอดภัย (The Right to Safety) เปนสิทธิประการสําคัญท่ีสืบเนื่องมาจากสิทธิพื้นฐานของมนุษยในฐานะท่ีผูบริโภคเปนมนุษยคําหนึ่งกลาวคือผูบริโภคมีสิทธิท่ีจะไดรับความปลอดภัยในรางกายชีวิตและทรัพยสินท่ีบุคคลอื่นจะลวงละเมิดหรือทําใหเสียหายมิได ดังนั้นสินคาหรือบริการควรจะมีความปลอดภั ยและมีมาตรฐานเหมาะสมแกผูบริโภคท่ีจะไมกอใหเกิดอันตรายแกรางกายชีวิตและทรัพยสินของผูบริโภคและสิทธิท่ีผูบริโภคไดรับการคุมครองนี้ครอบคุลมถึงอันตรายท้ังหมดท่ีเกิดจากการบริโภคสินคาหรือบริการโดยตรงหรือทางออม

2) สิทธิท่ีจะไดรับขาวสาร (The Right to be Informed) สิทธิขอนี้กลาวถึงหลักการท่ีวาผูบริโภคมีสิทธิเพียงพอในการรับขาวสารเก่ียวกับสินคาและบริการเพื่อเปนฐานขอมูลในการตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการนั้นๆ โดยมิใหผูประกอบกิจการหลอกลวงผูบริโภค ท้ังผูบริโภคจะไดสินคาหรือบริการท่ีถูกตองตรงตามความตองการซึ่งสิทธิประเภทนี้จะมีผลกระทบตอสิทธิท่ีจะไดรับความปลอดภัยดังกลาวขางตนดวยกลาวคือในกรณีท่ีเจาของสินคาท่ีจะขายสินคาใหแกผูบริโภคไมไดใหขาวสารคําพรรณนาคุณภาพท่ีถูกตองและเพียงพอเก่ียวกับสินคานั้นแลวผูบริโภคซึ่งไดซื้อสินคานั้นมาอาจ

23ไพฑูรย หอมสุวรรณ. “มาตรการทางกฎหมายในการคุมครองผูบริโภค ศึกษากรณีผูใชบริการนวดและสปาเพื่อสุขภาพ.” (วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก,2555), หนา 12.

24ทัศนีย วีระกันต. “การดําเนินการคุมครองผูบริโภค: ศึกษากรณีศูนยรับเร่ืองราวรองทุกขมูลนิธิเพื่อผูบริโภค.” (วิทยานิพนธพัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541), หนา 10-11.

Page 54: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

44

ไดรับอันตรายตอรางกายชีวิตและทรัพยไดฉะนั้นสิทธิของผูบริโภคท่ีจะไดรับขาวสารเก่ียวกับสินคาหรือบริการนั้น จึงเปนสิทธิท่ีสําคัญประการหนึ่งของผูบริโภค

3) สิทธิท่ีจะเลือก (The Right to Choose) ซึ่งสิทธิประเภทนี้มุงคุมครองความเปนอิสระในการแสดงเจตนาท่ีจะซื้อสินคาหรือไดรับบริการของผูบริโภคซึ่งเปนสวนหนึ่งของสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยท่ีจะมีสิทธิเสรีภาพในการตัดสินใจกระทําการสิ่งใดท่ีผูอื่นจะมาควบคุมบังคับ ขมขู หรือชักจูงโดยไมเปนธรรมไมไดเพื่อปองกันการเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบธุรกิจ

4) สิทธิท่ีจะไดรับการรับฟง (The Right to be Heard) สิทธิขอนี้กลาวถึงการท่ีผูบริโภคท่ีถูกละเมิดสิทธิดังกลาวมาแลวขางตนสามารถเรียกรองสิทธิของตนรวมท้ังการใหผูประกอบธุรกิจชดเชยความเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

สืบเนื่องมาจากคําปราศรัยดังกลาวประเทศท่ีพัฒนาแลวหลายประเทศไดออกกฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภค (Consumer Protection Law) เพื่อรองรับสิทธิของผูบริโภคในหลายประเทศไดรวมตัวกันจัดตั้งสหพันธคุมครองผูบริโภคสากล (ConsumerInternational) หรือชื่อเดิมท่ีเปนท่ีรูจักกันท่ัวไปในนาม International Organization of ConsumerUnions (IOCU) สหพันธไดผลักดันสิทธิของผูบริโภคสากกลจนเปนท่ียอมรับกันท่ัวไป25

ของเขตของสิทธิของผูบริโภคสากลของ IOCU มีสาระดังนี้26

1) สิทธิท่ีจะไดรับสินคาและบริการท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิตอัน ไดแก อาหารเคร่ืองนุงหม ท่ีพักอาศัย การดูแลสุขภาพ การศึกษา และสุขาภิบาล

2) สิทธิท่ีจะไดรับการคุมครองจากการโฆษณาสินคาหรือบริการท่ีเปนอันตรายตอสุขภาพ

3) สิทธิท่ีจะไดรับทราบขอเท็จจริงและขอมูลท่ีจําเปนตอการตัดสินใจอยางชาญฉลาด4) สิทธิท่ีจะเลือกซื้อสินคาและบริการท่ีพอใจในราคาท่ีแขงขันและมีการประกัน

คุณภาพ

25ไพฑูรย หอมสุวรรณ. เร่ืองเดียวกัน. หนา 14.26ทัศนีย วรีะกันต. เร่ืองเดียวกัน. หนา 11.

Page 55: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

45

5) สิทธิท่ีจะแสดงความคิดเห็นในฐานะตัวแทนผูบริโภคเพื่อประโยชนท่ีพึงไดในการตั้งเกณฑและการบริการจัดการตามนโยบายของรัฐ

6) สิทธิท่ีจะไดรับคาชดเชยในกรณีท่ีถูกหลอกลวงใหไดรับสินคาหรือบริการท่ีไมมีคุณภาพ

7) สิทธิท่ีจะไดมาซึ่งความรูและไหวพริบอันจําเปนตอการเปนผูบริโภคท่ีรอบรู8) สิทธิท่ีจะดํารงชีวิตและดําเนินกิจกรรมอยูในสิ่งแวดลอมท่ีดีและสามารถดํารงชีวิต

อยูไดอยางปลอดภัยในประเทศไทยขอบเขตของสิทธิผูบริโภคไดยึดตามพระราชบัญญัติคุมครอง

ผูบริโภควาผูบริโภคมีสิทธิไดรับความคุมครองดังนี้1) สิทธิท่ีจะไดรับขาวสารรวมท้ังคําพรรณนาคุณภาพท่ีถูกตองและเพียงพอ

เก่ียวกับสินคาหรือบริการ2) สิทธิท่ีจะมีอิสระในการเลือกหาสินคาหรือบริการ3) สิทธิท่ีจะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ4) สิทธิท่ีจะไดรับพิจารณาและชดเชยความเสียหาย5) สิทธิท่ีจะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา2.4.2 ทฤษฎีทางกฎหมายท่ีใชในการคุมครองผูบริโภคในการทําสัญญาหลักทฤษฎีทางกฎหมายในการคุมครองผูบริโภคมีหลายประการซึ่งทฤษฎีเหลานี้

ทําใหการศึกษาปญหาการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกจะทําใหมองภาพรวมของธุรกิจประเภทนี้ไดชัดเจนย่ิงขึ้น ผูเขียนจึงไดนําทฤษฎีท่ีสําคัญๆ มาประกอบการศึกษาดังนี้

1. ทฤษฎีการแสดงเจตนา (Declaration of Theory) สัญญาเกิดขึ้นจากขอตกลงรวมกันระหวางคูสัญญาสองฝายท้ังนี้ตางฝายตางกําหนดสิทธิและหนาท่ีซึ่งกันและกันเนื่องมาจากหลักเจตนาเปนพื้นฐานกอใหเกิดสิทธิและหนาท่ีโดยคูสัญญา เจตนาเปนกลไกสําคัญในขั้นตอนและการเจรจาตกลงทําสัญญาตลอดจนการกําหนดเนื้อหาของขอตกลงสัญญาเกิดขึ้นตามหลักคําเสนอ คําสนองตองตรงกันการตกลงยินยอมรวมกันท่ีจะผูกพันกันตามสัญญาเปนสิ่งท่ีจําเปนท่ีจะใหสัญญาเกิดขึ้นซึ่งตองมีการแสดงเจตนาออกมาปรากฏภายนอกวามีความตองการเทาไรไมวาดวยทาทางวาจาหรือลายลักษณ

Page 56: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

46

อักษรเจตนาจะตองประกอบดวยความยินยอมสมัครใจท่ีบุคคลแสดงออกมาซึ่งจะตองไมมีความผิดพลาดหรือบกพรองของเจตนาการแสดงเจตนานั้นบุคคลจะตองมีเสรีภาพในการแสดงเจตนาดวย27

หลักความศักดิ์สิทธิ์ของเจตนา (Autonomy of Will) เปนหลักท่ีอาศัยความเปนเหตุผลทางนิติปรัชญาวาดวยนิติสัมพันธทางหนี้วาตั้งอยูบนรากฐานของเจตนาของบุคคลเจตนาเปนแหลงกําหนดและเปนมาตรการของสิทธิ การจะกลาววาเจตนามีความศักดิ์สิทธิ์นี้ไมไดหมายความเพียงวาเจตนามีความเปนอิสระท่ีจะกอใหเกิดสิทธิและหนาท่ีตางๆ ตามท่ีเจตนาตองการเทานั้น แตเปนหลักท่ีใชความสําคัญแกเจตนาถึงขนาดกลาวไดวาท่ีไหนไมมีเจตนาท่ีนั่นไมมีสิทธิดวย28

ดังนั้นการท่ีจะเกิดสัญญาขึ้นมาไดจึงตองมีเจตนาตรงกันแตเจตนาจะตรงกันไดก็ตองมีการตอรองซึ่งถือเปนองคประกอบสําคัญคืออํานาจในการเขารวมกําหนดเง่ือนไขหรือขอความแหงสัญญาโดยปราศจากการแทรกแซงและครอบงําของอํานาจรัฐและขอตกลงมีความมั่นคงแนนอน และองคประกอบอีกขอหนึ่งคือเสรีภาพในการตกลงใจรวมผูกพันตามสัญญาโดยผูตกลงใจมิไดถูกบังคับใหตกลงใจและผูตกลงใจจะตองเขาใจขอความอันถองแทแลวจึงตกลงใจเขาทําสัญญา บุคคลจึงมีอิสระท่ีจะผูกมัดตนเองตามท่ีตองการเจตนาเปนตัวกอใหเกิดสัญญาเปนตัวกําหนดเนื้อหาของสัญญาและเปนหลักเกณฑท่ีจะใหสัญญามีผลบังคับแตคูสัญญาตลอดจนปญหาการตีความสัญญา

2. ทฤษฎีเร่ืองความศักดิ์สิทธิ์ของเจตนา (Autonomy of the Will) ทฤษฎีวาดวยความศักดิ์สิทธิ์แหงการแสดงเจตนานี้เปนทฤษฎีท่ีนักปรัชญากฎหมายในตอนสมัยคริสตศตวรรษท่ี 18 ใหการสนับสนุนและทฤษฎีนี้ไดพัฒนาไปพรอมกับเสรีภาพทางเศรษฐกิจท่ีเร่ิมมีมากขึ้นในคริสตศตวรรษท่ี 19 ในสมัยคริสตศตวรรษท่ี 18 นี้ นักปรัชญากฎหมายมีความประสงคท่ีจะใหบุคคลมีเสรีภาพหลุดพนจากขอบังคับทางสังคมรวมท้ังขอบังคับตางๆ ท่ีกฎหมายกําหนดเอาไวโดยตองการท่ีจะใหกฎขอบังคับเปนเร่ืองขอยกเวนเทานั้น

27ดาราพร ถิระวัฒน. กฎหมายสัญญา: สถานะใหมของสัญญาปจจุบันและปญหาขอสัญญาท่ีไมเปนธรรม. (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2538), หนา 10.

28ดาราพร ถิระวัฒน. เร่ืองเดียวกัน. หนา 10.

Page 57: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

47

กลาวคือ โดยหลักแลวทุกคนจะตองมีเสรีภาพเวนแตในเร่ืองบางเร่ืองท่ีเห็นสมควรจึงจะมีการวางขอบังคับกําหนดเสรีภาพนั้นไวและยังมีความเห็นตอไปวาเสรีภาพของบุคคลนี้จะถูกจํากัดลงไดก็แตโดยความสมัครใจของตนเองเทานั้น ท้ังนี้ เพราะเห็นวากฎเกณฑท่ีดีท่ีสุดท่ีจะใชบังคับแกสัญญาคงจะไมมีอะไรดีไปกวากฎเกณฑท่ีคูสัญญามีความทัดเทียมกันเปนผูตกลงเอาไวโดยถือวากฎเกณฑท่ีตกลงกันไวเปนกฎหมายอันหนึ่งท่ีคูสัญญาเจตนาจะใหใชบังคับแกกรณีของตนจึงนาจะเปนกฎเกณฑท่ีกอใหเกิดควา มยุติธรรมใหแกเอกชนไดอยางมากจากแนวคิดนี้จึงนําไปสูทฤษฎี ความศักดิ์สิทธิ์แหงการแสดงเจตนากลาวคือใหคูสัญญามีอํานาจอยางเต็มท่ีในการสัญญาดังนั้นทฤษฎีความศักดิ์สิทธิ์แหงการแสดงเจตนาหมายความวาเจตนาของเอกชนมีคาเหนือกวาสังคม(La primantede I’individuur la societe) หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือการแสดงเจตนาของเอกชน เปนตัวกอใหเกิดหนี้ขึ้น มิไดมาจากอํานาจภายนอกอื่นใดซึ่งเปนอํานาจทางสังคม29

ทฤษฎีความศักดิ์สิทธิ์แหงการแสดงเจตนานี้ มีสมมุติฐานวาคนทุกคนมีอํานาจตอรองเทาเทียมกันตามกฎหมายทุกคนรูถึงฐานะความไดเปรียบเสียเปรียบของตนซึ่งอํานาจในการเขาตอรอง อันไดแกอํานาจในการเขารวมกําหนดเง่ือนไขหรือขอความ ในสัญญา(Mutual Agreement) โดยปราศจากท่ีแทรกแซงและครอบงําของอํานาจรัฐ (State Non Intervention)และขอตกลงมีความมั่นคงแนนอน (Certainty) รวมท้ังมีเสรีภาพ ในการตกลงรวมผูกพันในสัญญา (Freedom of Consent) ผูตกลงใจเขาผูกพันทําสัญญาดวย30 ทฤษฎีความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนา เจตนารมณของกฎหมายก็คือ กฎหมายถือวาคูสัญญามีฐานะในการรับรูและตอรองเทาเทียมกัน

ทฤษฎีความศักดิ์สิทธิ์แหงการแสดงเจตนานี้เปนเคร่ืองมือในการกอใหเกิดสัญญาท่ีมีผลบังคับในระหวางคูโดยการแสดงเจตนาของคูสัญญานั้น ท้ังนี้ เพราะกฎหมายท่ีมีอยูอาจไมเพียงพอ และไมเหมาะสมในอันท่ีจะปรับแกปญหาหลายกรณีท่ีเกิดขึ้น ในสังคมปจจุบันนอกจากนี้ยังมีเหตุผลอีกวาควรปลอยใหเอกชนมีความคิดริเร่ิมในการกําหนด

29สุธาบดี สัตตบุศย. คําอธิบายกฎหมายแพงและพาณิชยเปรียบเทียบ. (กรุงเทพมหานคร:แผนกวิชานิติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2522), หนา 1.

30สุธาบดี สัตตบุศย. เร่ืองเดียวกัน. หนา 1.

Page 58: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

48

และบังคับตามสิทธิของพวกเขา หลักเร่ืองความศักดิ์สิทธิ์แหงการแสดงเจตนาเปนทฤษฎีท่ีพบอยูในระบบประมวลกฎหมายมากกวาในระบบจารีตประเพณี ระบบประมวลกฎหมายยอมรับทฤษฎีเร่ืองความยินยอมในสัญญา ดังจะเห็นไดจากสุภาษิตกฎหมายฉบับหนึ่ง ท่ีกลาววา “สัญญาท่ีทําขึ้นโดยสมบูรณยอมมีผลบังคับ” หรือ “สัญญาตองเปนสัญญา” (Pacta Sunt Servenda) ความคิดเห็นนี้ตรงกับหลักท่ีวา “สัญญาท่ีจะกอใหเกิดหนี้ทางกฎหมายได ตองมากจากความยินยอมของคูกรณีและกฎหมายก็มีหนาท่ีในอันท่ีจะบังคับใหเปนไปตามเจตนาของคูกรณี” ซึ่งกลาวโดยสรุปก็คือหลักดังกลาวขางตนมีหลักเกณฑวา “บุคคลตองมีอิสระในการทําสัญญาตามท่ีเขาตองการโดยปราศจากการแทรกแซง”31

หลักเสรีภาพในการทําสัญญา (Principle of Freedom of Contract)หลักความศักดิ์สิทธิ์แหงการแสดงเจตนาเปนหลักกฎหมายซึ่งใหความอิสระแก

บุคคล ในการท่ีจะทําสัญญาตามท่ีเขาตองการ สวนหลักเร่ืองเสรีภาพในการทําสัญญาเปนเพียงนโยบายทางกฎหมายท่ีแสดงใหเห็นถึงเสรีภาพของบุคคลท่ีจะเปล่ียนแปลงสิทธิของเขาตามตองการ เปนหลักท่ีใหเสรีภาพอยางสมบูรณแกคูสัญญาในการท่ีจะกําหนดชนิดการดําเนิน แบบ และเนื้อหาสาระของกิจการ โดยรัฐเขาไปแทรกแซงนอยท่ีสุด32

ประวัติความเปนมาของหลักเสรีภาพในการทําสัญญาหลักเสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) ปรากฏขึ้นเปนคร้ังแรก

ของรัฐธรรมนูญของประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Constitution , Art.I.S.10)และตอมาไดปรากฏขึ้นประเทศสาธารณรัฐฝร่ังเศสภายหลักการปฏิบัติโดยไดบัญญัติใน Napoleonic-Sacree of March 2-17, 1791,(1791),2., Collection des d’ecrets, 147, มาตรา 7ซึ่งบัญญัติวา “บุคคลทุกคนมีเสรีภาพในการจัดการธุรกิจใดๆ ไดตามท่ีเห็นสมควร” ท้ังนี้

31ไชยยศ เหมะรัชตะ, กฎหมายวาดวยสัญญา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2535), หนา 81.

32ไพฑูรย หอมสุวรรณ. เร่ืองเดียวกัน. หนา 52.

Page 59: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

49

จะไมมีบทบัญญัติท่ัวไปวาดวยเร่ืองเสรีภาพในการทําสัญญาอยางชัดเจนในประมวลกฎหมายแพงและฝร่ังเศส แตอางอิงไดวามีหลักอยูในมาตรา 6 มาตรา 1131 และ 1133ท่ีบัญญัติวา “การตกลงรวมกันของคูสัญญา คือ กฎหมาย”33

ความคิดเร่ืองเสรีภาพในการทําสัญญา เกิดขึ้นจากหลักทฤษฎีอรรถประโยชนของเจเรมี เบนแธม (Jeremy Bentham) และจอหน สจอต มิลล (John Stewart Mill) นักปรัชญาเสรีนิยมสํานักอรรถประโยชน (Unilatarian School) สํานักความคิดนี้มีความเชื่อวารากฐานของกฎหมายหรือศีลธรรมคือ การสรางประโยชนสูงท่ีสุดแกบุคคลจํานวนมากท่ีสุด (Greatest Happiness of the Number) จึงไดมีการประยุกตหลักอรรถประโยชนในสาขากฎหมายแพงและพาณิชย โดยถือวาเสรีภาพทางสัญญาพาณิชยเปนเง่ือนไขท่ีจะทําใหเกิดความสุขมากท่ีสุดแกเอกชนทําใหเกิดความจําเปนท่ีจะตองใชหลักประกันแกเสรีภาพในการทําสัญญา34

นอกจากนี้หลักเสรีภาพในการทําสัญญายังเกิดจากหลักปรัชญากฎหมายเร่ืองปจเจกชนนิยม (Individualism) ท่ีถือวาเจตนามีความศักดิ์สิทธิ์และเปนหลักพื้นฐานของเสรีภาพตามธรรมชาติมนุษย และเมื่อผสมผสานกับแนวคิดเร่ืองเสรีภาพในการทําสัญญาของลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจท่ีเนนถึงความสําคัญของการแขงขันระหวางเอกชนโดยเสรี (Free competition) เสรีภาพในการประกอบการคาและการทําสัญญาทางการคา ทําใหหลักเสรีภาพในการทําสัญญา (Freedom of Contract) กลายเปนหลักทฤษฎีซึ่งเปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไป โดยมีความเชื่อวาหากศาลหรือรัฐไมเขาไปยุงเก่ียวกับการคาของเอกชนและจะไมเขาไปเก่ียวของแทรกแซงการทําสัญญาของคูสัญญาแลวก็จะนํามาซึ่งความเจริญรุงเรืองของสังคมและนํามาซึ่งความพึงพอใจของคูสัญญา35

33ไพฑูรย หอมสุวรรณ. เร่ืองเดียวกัน, หนา 53.34ดาราพร ถิระวัฒน. เร่ืองเดียวกัน. หนา 5.35สุรศักด์ิ วาจาสิทธิ์. สัญญาสําเร็จรูปของอังกฤษ.วารสารนิติศาสตร 15 มีนาคม 2528,

หนา 21.

Page 60: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

50

3. หลักเสรีภาพในการทําสัญญาหลักเสรีนิยม (Liberalism) เสรีภาพในการทําสัญญาหลักความศักดิ์สิทธิ์ของเจตนาไดถูกยอมรับดวยเหตุผลอีกประการหนึ่งท่ี

สนับสนุนหลักนี้คือหลักเสรีภาพในทางเศรษฐกิจ ในคริสตศตวรรษท่ี 18 มีระบบเศรษฐกิจแบบการคาเสรี Laissez-faire, Laissez-passer คือ หลักท่ีวาบุคคลทุกคนจะตองมีเสรีภาพเวนแตบางกรณีท่ีเปนการสมควรจะมีการวางขอจํากัดเสรีภาพลงกฎเกณฑท่ีดีท่ีสุดท่ีสังคมควรมีคือ กฎเกณฑท่ีสัญญามีความเทาเทียมกันตกลงกันเองโดยถือหลักวากฎเกณฑท่ีตกลงกันไดเปนกฎเกณฑอันหนึ่งท่ีเกิดจากเจตนาท่ีใหใชบังคับแตกรณีของตนโดยเฉพาะซึ่งเปนกฎเกณฑท่ีจะกอใหเกิดความยุติธรรมแกเอกชนดวยกันขอความคิดนี้ไดนําไปสูหลักความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาท่ีใหคูสัญญามีเสรีภาพเต็มท่ีในการทําสัญญารัฐจะไมบัญญัติกฎหมายท่ีเปนการบีบบังคับเอกชนกฎหมายจะเขาไปเก่ียวของเฉพาะกรณีท่ีเก่ียวกับประโยชนสวนรวมเทานั้น36

หลักเสรีภาพในการทําสัญญานี้เปนหลักท่ีอธิบายแกหนี้ท่ีเกิดจากสัญญาจะเปนหนี้ท่ียุติธรรมสําหรับคูสัญญาเพราะคูสัญญามีเสรีภาพมีอิสรภาพท่ีจะตกลงทําหรือไมก็ไดถาอีกฝายหนึ่งเห็นวามีการเอารัดเอาเปรียบเกินไปหรือหนี้ท่ีตนรับภาระไวมีมากกว าหนี้ท่ีอีกฝายหนึ่งตองตอบแทนจนไมเปนธรรมแลวก็ไมจําเปนตองยอมรับขอตกลงกอใหเกิดหนี้นั้นโดยการไมตกลงทําสัญญาดวย

2.5. ทฤษฎีการบังคับใชกฎหมาย37

แนวคิดและขอบเขตปรัชญาการบังคับใชกฎหมายและการควบคุมสังคม(The Philosophy of Enforcing Laws and Social Control) ใหรวมตลอดไปถึงการควบคมุ

36ดาราพร ถิระวัฒน. เร่ืองเดียวกัน. หนา 14.37คณะผูเขารับการอบรม กลุมที่ 5.หลักสูตร นักบริหารกิจการยุติธรรม:มาตรการในการแกไขปญหา

คอรรัปชั่น,มาตรการในกระบวนการบังคับใชกฎหมายเชิงบูรณาการ เสนอ สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม,หนา7. http://www.oja.go.th, (16 ธันวาคม 2560).

Page 61: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

51

พฤติกรรมอันจะนําไปสูการกระทําความผิดดวย สําหรับลักษณะท่ีสําคัญเก่ียวกับปรัชญาการบังคับใชกฎหมายและการควบคุมสังคมมีอยูสามประการ คือ

1) รัฐเปนผูใชมาตรการทางกฎหมายเพื่อควบคุมความประพฤติและคุมครองพิทักษผลประโยชนของสมาชิกในสังคมตามหลักกฎหมายมหาชนในฐานะท่ีรัฐมีอํานาจเหนือราษฎรมิไดรวมถึงกฎหมายเอกชนอันเปนกฎหมายวาดวยความสัมพันธระหวางราษฎรในฐานะเทาเทียมกัน

2) รัฐเปนผูไดรับอาณัติมอบหมาย (Mandate) จัดสรรเจาหนาท่ีควบคุมรับผิดชอบการปฏิบัติหนาท่ีรักษาความสงบเรียบรอยและความผาสุกของชุมชนใหเปนไปตามเจตนารมณและหลักกฎหมายอยางเครงครัด

3) การบังคับใชกฎหมายจะตองบังคับใชแกสมาชิกในสังคมโดยเสมอภาคภายใตหลักนิติธรรม (Justice Under Law) ปราศจากความลําเอียงหรือรังเกียจเดียดฉันทโดยสิ้นเชิง

สวนในการการบังคับใชกฎหมาย และการยกเลิกกฎหมาย มีลักษณะดังนี้ 38

1) กฎหมายซึ่งบัญญัติขึ้นนั้น เมื่อจะนํามาบังคับใชมีหลักสําคัญท่ีตองพิจารณาอยู3 ประการ คือ เวลา สถานท่ี และบุคคลท่ีใชบังคับ

2)ในการบังคับใชกฎหมายใหไดมีประสิทธิผลนั้น รัฐเองมีหนาท่ีจะตองเตรียมการใหพรอมในดานสถานท่ี บุคลากร และประชาสัมพันธ

3) การยกเลิกกฎหมาย คือ การท่ีกฎหมายนั้นสิ้นสุดลงไมสามารถใชบังคับไดอีกตอไป การยกเลิกกฎหมายนั้นแบงออกไดเปน 2 กรณี คือ การยกเลิกกฎหมายโดยตรงและการยกเลิกกฎหมายโดยปริยาย

เพื่อใหเขาใจเก่ียวกับลักษณะการบังคับใชกฎหมายและการยกเลิกการบังคับใชกฎหมายย่ิงขึ้นผูเขียนจึงขออธิบายพอสังเขปดังนี้

38บทความที่ 7 การบังคับใชกฎหมาย และการยกเลิกกฎหมาย. 255.http://politics-03.blogspot.com/2009/01/7-1.html (2 เมษายน 2561)

Page 62: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

52

1. การบังคับใชกฎหมายขอบเขตของการบังคับใชกฎหมายแกผูท่ีอยูภายใตการบังคับใชมีหลักเกณฑ

ดังตอไปนี้1.1 เวลาท่ีกฎหมายใชบังคับนั้น ก็คือเวลาท่ีกฎหมายกําหนดไวในตัว

กฎหมายนั้นเองวาจะใหกฎหมายนั้นใชบังคับเมื่อใด อาจเปนวันท่ีประกาศใช หรือโดยกําหนดวันใชไวแนนอน หรือกําหนดใหใชเมื่อระยะเวลาหนึ่งลวงพนไป

1.2 สถานท่ีท่ีกฎหมายใชบังคับ กฎหมายของประเทศใดก็ใชบังคับไดในอาณาเขตของประเทศนั้น ๆ ซึ่งเปนการใชหลักดินแดน

1.3 กฎหมายยอมใชบังคับแกบุคคลทุกคนท่ีอยูในอาณาเขตของประเทศนั้นๆ ไมวาจะเปนบุคคลสัญญาตินั้นเองหรือบุคคลตางดาวก็ตาม

1.4 การบังคับใชกฎหมายใหไดผล ตองมีการเตรียมการท้ังในดานการประชาสัมพันธบุคลากร สถานท่ี และอุปกรณ

1.5 กําหนดเวลาท่ีกฎหมายใชบังคับสามารถแบงไดเปน 4 กรณี คือ1) กรณีท่ัวไป คือ โดยปกติกฎหมายมักจะกําหนดวันใชบังคับในวันถัด

จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา2) กรณีเรงดวน เปนกรณีท่ีตองการใชบังคับกฎหมายอยางรีบดวนใหทัน

สถานการณ จึงกําหนด ใหใชในวันท่ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา3) กําหนดเวลาใหใชเมื่อระยะเวลาหนึ่งลวงไป เชน เมื่อพนจากวันนับแต

วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาท้ังนี้ เพื่อใหเวลาแกทางราชการท่ีเตรียมตัวใหพรอมในการบังคับใชกฎหมายนั้นและใหประชาชนไดเตรียมศึกษาเพื่อปฏิบัติตามไดถูกตอง

4) กรณีพิเศษ กฎหมายอาจกําหนดใหพระราชบัญญัตินั้นใชบังคับในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา แตพระราชบัญญัตินั้นจะใชไดจริง ในทองท่ีใดเวลาใด

1.6 สถานท่ีท่ีกฎหมายใชบังคับ “หลักดินแดน” หมายความวา กฎหมายของประเทศใดก็ใหใชบังคับกฎหมายของประเทศนั้นภายในอาณาเขตของประเทศนั้น

1.7 บุคคลท่ีกฎหมายใชบังคับ บุคคลโดยท่ัวไปยอมตองอยูภายใตกฎหมายยกเวนบุคคลท่ีรัฐธรรมนูญยกเวนไมใหใชบังคับกฎหมายไดแก

Page 63: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

53

1) พระมหากษัตริยเพราะเปนท่ีเคารพสักการะใครจะลวงละเมิดฟองรองพระมหากษัตริยไมไดไมวาทางแพงหรือทางอาญา

2) สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผูแทนราษฎร รัฐมนตรี กรรมาธิการ และบุคคลท่ีประธานสภาฯ อนุญาตใหแถลงขอเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในสภาตลอดจนบุคคลผูพิมพรายงานการประชุมตามคําสั่งของสภาฯ เหตุท่ีกฎหมายใหเอกสิทธิ์ไมใหผูใดฟองบุคคลดังกลาวในขณะปฏิบัติหนาท่ีในสภา ก็เพื่อแสดงความคิดเห็นไดเต็มท่ีเพื่อประโยชนในการพิจารณาของสภานั้นเอง เวนแตการประชุมนั้นจะมีการถายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน

1.8 การเตรียมการบังคับใชกฎหมายซึ่งในการเตรียมการบังคับใชกฎหมายสามารถแบงออกเปน 3 กรณี ไดแก

1) ดานประชาสัมพันธมีการเตรียมการโดยผานสื่อตางๆ ไมวาทางวิทยุโทรทัศน สื่อสิ่งพิมพ เพื่อใหบุคคลตางๆ ไดทราบขอมูล

2) ดานเจาหนาท่ี ตองมีการเตรียมการใหเจาหนาท่ีผูบังคับใชกฎหมายมีความรู ความชํานาญ และความเขาใจ เพื่อจะบังคับใชกฎหมายไดถูกตอง

3) ดานสถานท่ีและอุปกรณ มีการเตรียมสถานท่ีเพื่อใหเพียงพอใหเปนไปตามเจตนารมณของกฎหมายเพื่อใหมีประสิทธิภาพในการบังคับใชกฎหมาย

2. การยกเลิกกฎหมายในการยกเลิกใชกฎหมายแกผูท่ีอยูภายใตการบังคับใชกฎหมาย การยกเลิก

กฎหมาย คือ การทําใหกฎหมายท่ีเคยใชบังคับอยูนั้นสิ้นสุดลง โดยยกเลิกโดยตรง และยกเลิกโดยปริยาย ซึ่งมีหลักเกณฑดังตอไปนี้

3. การยกเลิกกฎหมายโดยตรงนั้น แบงออกเปน 3 กรณี คือ1) ตัวกฎหมายนั้นเอง กําหนดวันท่ียกเลิกกฎหมายนั้นไว เชน กรณีใน

กฎหมายนั้นเองกําหนดวันยกเลิกไวใหกฎหมายนี้สิ้นสุดลงเมื่อพนกําหนด 3 ป เปนตน2) ยกเลิกโดยมีกฎหมายใหม ซึ่งมีลักษณะอยางเดียวกัน กําหนดใหยกเลิก

ไวโดยตรง อาทิเชน เมื่อมีกฎหมายใหมมีลักษณะเชนเดียวกัน ระบุยกเลิกไวโดยตรง ซึ่งอาจจะยกเลิกท้ังฉบับหรือบางมาตราก็ได เปนตน

Page 64: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

54

3) ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติ เชน เมื่อพระราชกําหนดท่ีประกาศใชถูกยกเลิก เมื่อพระราชกําหนดไดประกาศใชแตตอมาไดมีพระราชบัญญัติไมอนุมัติพระราชกําหนดนั้น มีผลทําใหพระราชกําหนดนั้นถูกยกเลิกไป

4. การยกเลิกกฎหมายโดยปริยาย เปนเร่ืองท่ีไมมีกฎหมายใหมบัญญัติใหยกเลิกกฎหมายเกาโดยชัดแจง แตเปนท่ีเห็นไดวากฎหมายใหมยอมยกเลิกกฎหมายเกา เพราะกฎหมายใหมยอมดีกวากฎหมายเกา และหากประสงคจะใชกฎหมายเกาอยู ก็คงไมบัญญัติกฎหมายในเร่ืองเดียวกันขึ้นมาใหม

กรณีเมื่อยกเลิกพระราชบัญญัติแลว พระราชกฤษฎีกาท่ีออกโดยอํานาจของกฎหมายนั้นจะถูกยกเลิกไปในตัวดวยเพราะพระราชบัญญัติเปนกฎหมายแมบท เมื่อกฎหมายแมบทถูกยกเลิกไปแลว พระราชกฤษฎีกาซึ่งออกมาเพื่อจะใหมีดําเนินการให เปนกฎหมายแมบทก็จะถูกยกเลิกไปดวย39

2.6 วิวัฒนาการและการใหบริการรักษาความปลอดภัย

การรักษาความปลอดภัยมีวิวัฒนาการท่ีคอยๆ พัฒนารูปแบบการใหบริการรักษาความปลอดภัยขึ้นมาตามลําดับตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจของแตละประเทศ จนมาสูรูปแบบธุรกิจการใหบริการรักษาความปลอดภัย ซึ่งมีผูประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการหรือขายสินคาในรูปแบบของบริการรักษาความปลอดภัยแกลูกคาหรือผูบริโภคโดยมีวิวัฒนาการและรูปแบบการใหบริการรักษาความปลอดภัย ดังนี้

2.6.1 วิวัฒนาการและการประกอบธุรกิจดานการรักษาความปลอดภัยในตางประเทศ

จุดเร่ิมตนของการรักษาความปลอดภัยภาคเอกชนเร่ิมจากการท่ีประชาชนไดมารวมตัวกันเพื่อปกปองตนเองและครอบครัวใหพนจากสัตวรายและศัตรูในยุคโรมันโบราณการรักษาความปลอดภัยเอกชนประกอบดวยกองทัพ ทาส และบุคคลซึ่งถูกจางโดย

39บทความที่ 7 การบังคับใชกฎหมาย และการยกเลิกกฎหมาย. 2552 ,http://politics-03.blogspot.com/2009/01/7-1.html, (2 เมษายน 2561).

Page 65: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

55

เอกชนเพื่อปกปองประชาชน ตอมาในประเทศอังกฤษยุคแรกๆ การรักษาความปลอดภัยเอกชนเปนการรวมกลุมกันของประชาชนเพื่อปกปองตนเองและผูอื่นและมีนักสืบเอกชนซึ่งกลายเปนรูแบบเร่ิมตนของตํารวจซึ่งในป ค.ศ.1819 ไดมีการจัดตั้งกรมตํารวจขึ้นในลอนดอนเปนคร้ังแรกตอมาสหรัฐอเมริกาไดรับอิทธิพลจากประเทศอังกฤษในเร่ืองตํารวจจึงมีการกอตั้งกรมตํารวจขึ้นในเขตเมืองและมีการแตตั้งนายอําเภอในเขตชายแดน

ตอมาชวงป ค.ศ.1850 เปนยุคใหมของอุตสาหกรรมรักษาความปลอดภัยซึ่งมีจุดกําเนิดจากนายอลัน พิงเคอรตัน (Allan Pinkerton) ผูกอตั้งหนวยสืบสวนแหงชาติ พิงเคอตัน(Pinkerton National Detection) มีหนาท่ีหลักในการรักษาความปลอดภัยใหแกขบวนรถไฟ โดยริเร่ิมเทคนิคการสืบสวนแบบใหม เชน การแฝงกาย การสะกดรอย การพิสูจนลายมือ การเก็บประวัติอาชญากรรมไวรวมกัน การใหความรวมมือระหวางประเทศ เชนการใหขอมูลแกสก็อตแลนยารด ธุรกิจมีชื่อเสียงจากการอารักขาอับราฮัม ลิน คอลนในชวงสงครามกลางเมืองหลังจากสงครามกลางเมือง ธุรกิจมุงเนนท่ีการปองกันการปลนรถไฟ ลูกคาสําคัญ ไดแก กระทรวงยุติธรรมของสหรัฐอเมริกา บริษัทรถไฟ นายธนาคารนักเก็งกําไรอสังหาริมทรัพย ในยุคอุตสาหกรรม บริษัทพิงเคอรตันมีแผนการรักษาความปลอดภัยโดยทําสัญญารักษาความปลอดภัยใหแกโรงงานตางๆ ซึ่งหนึ่งในนั้น คือโรงเหล็กคารเนก้ี ซึ่งเกิดเหตุประทวงหยุดงานขึ้นและเกิดเหตุนองเลือดระหวางฝายคนงานและพนักงานรักษาความปลอดภัยซึ่งติดอาวุธปนไรเฟลทําใหคนงานตายไป 7 คน และพนักงานรักษาความปลอดภัยตาย 3 คน เหตุการณนี้ทําใหสภาคองเกรสสืบสวนบริษัทรักษาความปลอดภัยและในหลายรัฐไดผานกฎหมายหามรักษาความปลอดภัยรับจางติดอาวุธในมลรัฐของตน บริษัทขนาดใหญท้ังหยาบจึงกอตั้งหนวยงานรักษาความปลอดภัยขึ้นในโรงงานของตนซึ่งเปนชวงสั้นๆ ท่ีตํารวจมีบทบาทเดนกวาการรักษาความปลอดภัยเอกชน แตในทายสุดแลวดวยขอจํากัดในเร่ืองเขตอํานาจในการสืบสวนของตํารวจ ก็ตองหันไปพึ่งการรักษาความปลอดภัยเอกชน

ตอมากลางศตวรรษท่ี 19 เปนยุคของความกาวหนาของเทคโนโลยีสมัยใหม เชนสัญญาณกันขโมย รถหุมเกราะ โทรเลข และชวงตนของศตวรรษท่ี 20 เปนยุคอุตสาหกรรมเฟองฟู เนนการรักษาความปลอดภัยใหแกโรงงานหรือบริษัทมีการพัฒนาหนวยงานทางดานการรักษาความปลอดภัยใหมีความเชี่ยวชาญ มีการจางหนวยงานรักษาความ

Page 66: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

56

ปลอดภัยท่ีมีความเชี่ยวชาญ มีการจางหนวยงานรักษาความปลอดภัยท่ีมีความชํานาญอุตสาหกรรมรักษาความปลอดภัยขยายตัวอยางมากในชวงกอนและระหวางสงครามโลกคร้ังท่ี 2 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาไดกอตั้งหนวยงานตางๆ ขึ้นเพื่อปองกันการกอวินาศกรรมป ค.ศ.1955 มีการกอตั้ง The American Society of Industrial Security (ASIS) ขึ้น เพื่อพัฒนาวิชาชีพรักษาความปลอดภัย40

2.6.2 วิวัฒนาการและการประกอบธุรกิจดานการรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยการรักษาความปลอดภัยเอกชนของประเทศไทยมีวิวัฒนาการความเปนมา

ยาวนานการดูแลรักษาทรัพยสินของประชาชนปรากฏใหเห็นในลักษณะการจัดเวรยามเพื่อปองกันหรือเพื่อใหปลอดภัยจากการถูกโจรกรรมหรือการปลนสะดม เชนการจัดเวรยามเฝาสัตวเล้ียง วัว ควาย ตลอดจนทรัพยสิน การรักษาความปลอดภัยของประชาชนมักเปนการดูแลรักษาความปลอดภัยดวยตนเองหรือเปนความชวยเหลือกันยังไมมีความจําเปนท่ีจะตองจางยามหรือพนักงานรักษาความปลอดภัยดูแลรักษาทรัพยสิน เมื่อประเทศไทยเร่ิมมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ธุรกิจรักษาความปลอดภัยก็เร่ิมเปนท่ีรูจัก อยางไรก็ตาม การรักษาความปลอดภัยในอดีตยังอยูในรูปของการจัดจางยามเพื่อดูแลรักษาความปลอดภัยตามรานคาหรือสถานท่ีตางๆ ในชวงเวลากลางคืน สวนใหญมักเปนการจางแขกยามชาวอินเดียท้ังสิ้น

ในอดีตความรับผิดชอบตอปญหาอาชญากรรมในสังคมเปนของคนไทยทุกคนเชนเดียวกับความรับผิดชอบตอการศึกษาสงครามของประเทศ เนื่องจากโครงสรางทางสังคมไทยจะควบคุมกําลังคนแบบกองทัพ ทุกคนตองมีสังกัดมูลนายในยามท่ีบานเมืองมีสงครามก็จะระดมใหเปนทหารในองทัพเพื่อรักษาความมั่นคงปลอดภัยในประเทศในยามสงบก็เปนแรงงานใหกับทางการตามระบบเขาเดือนออกเดือน เมื่ออยูในชุมชนก็ตองเปนหูเปนตาใหกับบานเมือง ดูแลความสงบเรียบรอยรวมกัน เวลามีปญหาลักขโมยเกิดขึ้น ก็ตองเปนธุระเขาชวยกัน ดังเชน กฎหมายหาเสนท่ีกําหนดใหคนท่ีมีบานเรือน

40พ.ต.ท.ดร.ขวัญชัย อัตโณ,วาที่ ร.ท.ดร.เจนรบ พละเดช. การยกระดับมาตรฐานธุรกิจรักษาความปลอดภัย: อํานาจหนาที่และความรับผิดของพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต. วารสารคณะรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร ,มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถุนายน, 2560, หนา 180-181.

Page 67: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

57

ในรัศมีท่ีกําหนดตองออกชวยกันตามลาโจรผูรายเมื่อมีการลักขโมยเกิดขึ้นเทากับเปนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยภายในประเทศในยามสงบ

เนื่องดวยระบบการปกครองของไทยมีอํานาจตุลาการบริหารและนิติบัญญัติมีศูนยรวมอยูท่ีเดียว กระบวนการยุติธรรมก็รวมศูนยอยูกับผูปกครองไมมีตํารวจท่ีมาดูแลรักษาความปลอดภัยใหกับประชาชนท่ีเปนอยูในปจจุบัน ประชาชนตองดูแลกันเองเปนหลักตํารวจในสมัยกอนแมจะมีอยูแตก็ไมไดทําหนาท่ีดูแลความปลอดภัยใหกับประชาชนจะทําหนาท่ีผูอารักขาผูปกครองมากกวาประกอบกับสภาพสังคมและจํานวนคนในสังคมมีจํานวนนอย และอยูกันกระจัดกระจายแบบสังคมเกษตรกรรม ย่ิงชุมชนหางไกลย่ิงหางจากการควบคุมดูแลและการใหความคุมครองจากรัฐจึงย่ิงตองดูแลกันเองในเร่ืองของการรักษาความปลอดภัย ตํารวจภาครัฐเพิ่งจะเร่ิมมีการจัดตั้งกันอยางจริงจังในป พ.ศ. 2403 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ท่ีทรงโปรดเกลาฯใหกัปตันเจมส (Captain Samual Josept Bird Ames) เปนผูวางโครงสรางงานตํารวจมีชื่อเรียกคร้ังแรกวา “กองโปลิศคอนสเตเปล” แลวเปล่ียนมาเปน “กรมกองตะเวน” และ“กรมตํารวจ”จนท่ีสุดในปจจุบันใชชื่อวา “สํานักงานตํารวจแหงชาติ”ภารกิจและความรับผิดชอบของตํารวจภาครัฐในการดูแลรักษาความปลอดภัยนอกจากจะขยายขึ้นตามความเจริญของบานเมืองแลวสวนหนึ่งยังเปนผลมาจากปจจัยทางการเมืองดวย ดังในยุคของพลตํารวจเอกเผา ศรียานนท (พ.ศ.2494-2500) เปนอธิบดีกรมตํารวจไดมีการสรางใหตํารวจไทยมีลักษณะเติบโตแบบเดียวกับกองทัพ แตขณะเดียวกันการแทรกแซงทางการเมืองก็มีผลในทางลบตอการพัฒนาของตํารวจไทยไดเชนเดียวกัน โดยเฉพาะในแงของการใหบริการแกประชาชนยังดูแลไดไมท่ัวถึง จะดวยงบประมาณและกําลังพลจํากัดหรือดวยเหตุผลอื่นใดก็ตาม อํานาจและภารกิจอันมากมายของตํารวจทําใหการรักษาความปลอดภัยยังเปนบริการท่ีไมสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางเพียงพอเมื่อการทํามาคาขายในสังคมขยายตัวมากขึ้น บริษัทหางรานบางแหงท่ีจําเปนตองใชบริการรักษาความปลอดภัยจากตํารวจ ตัวอยางเชน รายขายทอง ธนาคาร ฯลฯแมจะเปนบริการจากภาครัฐ แตบริษัทหางรานเอกชนก็ยังตองมีคาใชจายท่ีอยูในรูปแบบคาน้ํามันเชื้อเพลิง สินน้ําใจ ฯลฯ ไมใชบริการฟรีจากภาครัฐท่ีสุดแลวเมื่อใชบริการรักษาความปลอดภัยจากภาครัฐก็ตองมีคาใชจายดวยและสั่งการก็ไมได บริษัทหางราน

Page 68: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

58

ท้ังหลายจึงเร่ิมท่ีจะจัดจางเอง แตจะอยูในรูปแบบของยามและเปนพนักงานของบริษัทท่ีไมใชเปนการวาจางบริษัทรักษาความปลอดภัยแตเปนการจางปจเจกบุคคลโดยตรงซึ่งในระยะเร่ิมแรกมักจะเปนคนอินเดียท่ีเขามารับจางอยูยามในประเทศไทยมากท่ีสุด

การประกอบอาชีพพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชนเร่ิมปรากฏรูปแบบชัดเจนขึ้นในประเทศไทยเมื่อประมาณป พ.ศ.2508 ขณะนั้นประเทศสหรัฐอเมริกาไดสงกําลังทหารเขารวมรบในสงครามเวียดนาม และไดมีการวาจางผูดูแลรักษาความปลอดภัยในฐานทัพตางๆ เชน อูตะเภา โดยมีการกําหนดคุณสมบัติของบุคคลท่ีจะเขามาทําหนาท่ีวาตองเปนผูท่ีมีความรูเก่ียวกับการรักษาความปลอดภัย และมีระเบียบวินัยเปนอยางดีในเวลานั้นยังไมมีบริษัทรักษาความปลอดภัยเอกชนของไทยเปดใหบริการ บุคคลกลุมหนึ่งจึงไดรวบรวมทหารท่ีปลดประจําการแลวใหมาทําหนาท่ีเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยฐานทัพและเปนท่ีรูจักกันดีในชื่อของ “Thai Guard” หรือ “Thai Guard” เปนบุคคลกลุมแรกท่ีเร่ิมตนทํางานดานการรักษาความปลอดภัยโดยภาคเอกชนในประเทศไทยหลังจากนั้นเมื่อระบบเศรษฐกิจของประเทศมีความเจริญรุงเรืองขึ้นเปนลําดับ ยามท่ีทําหนาท่ีรักษาความปลอดภัยมีอยูจํานวนจํากัด ไมสามารถรองรับความตองการของภาคธุรกิจท่ีเจริญเติบโตอยางรวดเร็วได จึงไดมีผูประกอบธุรกิจดําเนินการจัดตั้งบริษัทรักษาความปลอดภัยเอกชนขึ้น และไดรับความนิยมจากผูใชบริการอีกท้ังยังมีการรวมตัวกันจัดตั้งสมาคมรักษาความปลอดภัยขึ้นดวย จากผลจากการศึกษาเร่ืองปญหาการควบคุมมาตรฐานธุรกิจรักษาความปลอดภัยของเอกชนโดยกลไกของกฎหมายของ ชูเกียรติตังคโนภาส (2539) พบวา มีบริษัทรักษาความปลอดภัยเอกชนจดทะเบียนเปนนิติบุคคลจํานวนมากกวา 1,000 บริษัท และมีการรวมตัวกันจัดตั้งสมาคมรักษาความปลอดภัยขึ้น2 สมาคม ไดแก

1) สมาคมผูประกอบการรักษาความปลอดภัยแหงประเทศไทย (Security Associationof Thailand) มีสมาชิกเปนบริษัทผูประกอบการรักษาความปลอดภัยใน ป พ.ศ. 2539มีจํานวนสมาชิกมากกวา 100 บริษัท

2) สมาคมผูบริหารงานรักษาความปลอดภัยแหงประเทศไทย (Security ExecutiveServices Association of Thailand) สมาชิกประกอบดวยบุคคลท่ีอยูในธุรกิจรักษาความ

Page 69: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

59

ปลอดภัยหรือมีหนาท่ีเก่ียวของกับงานรักษาความปลอดภัย ผูวาจางท่ีใชบริการงานรักษาความปลอดภัยรวมถึงบุคคลภายนอกท่ีมีความสนใจในงานรักษาความปลอดภัย41

ประเภทการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยงานรักษาความปลอดภัยเอกชนขยายตัวอยางรวดเร็วตามการเจริญเติบโตทาง

เศรษฐกิจของประเทศผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยเอกชนเพิ่มจํานวนมากขึ้นและมีการแขงขั้นกันสูง ผูประกอบธุรกิจในประเทศไทยท้ังหลายตางพยายามปรับเรงและพัฒนางานรักษาความปลอดภัยของตนเองใหมีประสิทธิภาพ นําระบบรักษาความปลอดภัยท่ีทันสมัยมาใช นําเทคโนโลยีอุปกรณตลอดจนเคร่ืองมือตางๆ มาใชในการปฏิบัติงานทําใหงานรักษาความปลอดภัยเอกชนมีขอบเขตกวางขวางย่ิงขึ้น โดยจากการศึกษาของ ชูเกียรติ ตังคโนภาส (2539) สรุปวางานรักษาความปลอดภัยเอกชนในประเทศไทยสามารถแบงไดเปน 5 ประเภท ดังนี้

1) งานรักษาความปลอดภัยอาคารและสถานท่ี (Physical Security) ไดแก การดูแลรักษาความปลอดภัยตามบริษัท หางราน สํานักงาน อาคารสถานท่ี โรงงาน สิ่งกอสรางหมูบานจัดสรร ธนาคาร สถานศึกษา ศูนยการคา โรงภาพยนตร โรงแรม โรงพยาบาลสถานีขนสง ทาเรือ ทาอากาศยาน รวมท้ังสวนราชการ และรัฐวิสาหกิจ เปนตน

2) งานรักษาความปลอดภัยดานการอํานายความสะดวกและการจราจร ไดแกการควบคุมดูแลการจราจร โดยมีพนักงานรักษาความปลอดภัยประจําอยูท่ีชองทางเขาออกหรือดานหนาของบริษัท อาคารสํานักงาน หางสรรพสินคา สถานท่ีจัดงานแสดงสินคาโรงเรียน โรงพยาบาล โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม สถานีขนสงตางๆ รวมท้ังสถานท่ีท่ีมีการกอสรางบนผิวการจราจรเพื่ออํานายความสะดวกแกผูสัญจรท่ีผานไปมาและยานพาหนะท่ีเขาออกในพื้นท่ีท่ีมีการรักษาความปลอดภัย

3) งานรักษาความปลอดภัยบุคคล (Personnel Security) ไดแก การอารักขาบุคคลบุคลสําคัญ การปองกันการกอการราย การเดินขบวน การคุมคามตอชีวิต การตรวจสอบ

41อรปภา คุมพูล. การพัฒนารูปแบบการบริหารองคกรธุรกิจรักษาความปลอดภัย. ดุษฎีนิพนธ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2558, หนา 83-85.

Page 70: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

60

ประวัติบุคคล การสืบสวนสอบสวน การหาขาว การตรวจหายาเสพติด และการบังคับกฎความปลอดภัย เปนตน

4) งานรักษาความปลอดภัยขนสงเงินสดทรัพยสินและเอกสาร ไดแก การดูแลรักษาความปลอดภัยในการขนสงเงินสด ทรัพยสิน และเอกสารจากท่ีหนึ่งไปยังอีกท่ีหนึ่งโดยใชยานพาหนะในการขนสง พนักงานรักษาความปลอดภัยจําเปนตองมีอาวุธติดตัวไวใชในการปองกันตัว และปองกันการถูกปลนทรัพยสินในระหวางการเดินทาง

5) งานรักษาความปลอดภัยดานขอมูลขาวสาร (Information Security) ไดแก การปองกันการจารกรรมความลับขอมูลทางการคา อุตสาหกรรมสิ่งประดิษฐ คอมพิวเตอรและการตอตานการจารกรรม เปนตน42

2.7 ประวัติและความเปนมาขององคการสงเคราะหทหารผานศึก

ในสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ประเทศไทยไดสงกําลังทหารเขารวมทําการรบในสงครามมหาเอเซียบูรพา เมื่อสิ้นสุดสงครามทหารท่ีปฏิบัติหนาท่ีในการรบถูกปลดประจําการโดยกระทันหัน สงผลใหตัวทหารและครอบครัวไดรับความเดือดรอนในการครองชีพเปนอยางย่ิง รัฐบาลในขณะนั้นซึ่งมี พลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี จึงไดมอบหมายใหกระทรวงกลาโหมพิจารณาดําเนินการชวยเหลือกระทรวงกลาโหมจึงไดตั้งคณะกรรมการพิจารณาหาทางชวยเหลือทหารกองหนุนขึ้นเมื่อวันท่ี 11 กันยายน พ.ศ. 2486 โดยมีท่ีทําการอยูในกรมเสนาธิการทหาร (ปจจุบันคือกองบัญชาการทหารสูงสุด) และใชเจาหนาท่ีของกรมเสนาธิการเปนผูปฏิบัติงาน สําหรับงบประมาณในการสงเคราะห ไดรับเงินอุดหนุนจากกระทรวงกลาโหมจํานวนหนึ่งตอมาเมื่อมีการขยายการสงเคราะหเพิ่มมากขึ้น จึงไดมีการพิจารณาวาการดําเนินงาน ในรูปของคณะกรรมการจะขาดความรัดกุมและความเหมาะสม กระทรวงกลาโหมจึงไดเสนอเปนพระราชบัญญัติ จัดตั้งองคการสงเคราะหทหารผานศึกหรือท่ีเรียกโดยยอวา “อผศ.”ขึ้นเปนหนวยงานถาวร เพื่อทําหนาท่ี ในการสงเคราะหทหารผานศึกโดยตรง พระราชบัญญัติ

42พ.ต.ท.ดร.ขวัญชัย อัตโณ,วาที่ ร.ท.ดร.เจนรบ พละเดช. เร่ืองเดียวกัน. หนา 86-87.

Page 71: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

61

ฉบับนี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2491 จึงนับเปนวันแรกท่ีมีกฎหมายรองรับการจัดตั้งองคการสงเคราะหทหารผานศึกและการเปนทหารผานศึกดังนั้น วันท่ี 3 กุมภาพันธของทุกป จึงถือวาเปนวันสถาปนาองคการสงเคราะหทหารผานศึกและเปน “วันทหารผานศึก”

ในป พ.ศ.2510 สภาทหารผานศึก สภากลาโหม และรัฐบาล ไดพิจารณาปรับปรุงพระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก โดยไดขยายการสงเคราะหครอบคลุมไปถึงทหาร ตํารวจ ขาราชการพลเรือนและพลเรือน ซึ่งปฏิบัติหนาท่ีปองกันหรือปราบปรามการกระทําอันเปนภัยตอความมั่นคง หรือความปลอดภัยแหงราชอาณาจักรท้ังในและนอกประเทศตามท่ีกระทรวงกลาโหมหรือสํานักนายกรัฐมนตรีกําหนด รวมท้ังทหารนอกประจําการดวย และใหโอนกิจการของมูลนิธิชวยเหลือทหารและครอบครัวท่ีไปชวยสหประชาชาติทําการรบ ณ ประเทศเกาหลี มาอยูในองคการสงเคราะหทหารผานศึกดวย พระราชบัญญัติฉบับนี้ไดประกาศใชในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 28 ธันวาคมพ.ศ.2510 เรียกวา “พระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2510” ซึ่งเปนฉบับท่ีใชอยูในปจจุบัน43

43องคการสงเคราะหทหารผานศึก. http://www.thaiveterans.mod.go.th/new_v2/wvo_v2/history.html, (10 ก.ค. 61).

Page 72: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

บทที่ 3มาตรการทางกฎหมายในธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยและตางประเทศ

ในบทนี้ผูเขียนจะกลาวถึงมาตรการทางกฎหมายในการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกวามีความเปนมาอยางไร และมีรูปแบบธุรกิจบริการรักษาความปลอดภัยอยางไร มีกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของใดบางในการกํากับดูแลธุรกิจ ในเร่ืองการกําหนดคุณสมบัติและการคัดเลือกเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย หนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก สิทธิและสวัสดิการของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก เนื่องจากองคการสงเคราะหทหารผานศึกไดรับการยกเวนตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เร่ือง กําหนดหนวยงานของรัฐไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ในประเทศไทยการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยมีพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 เปนมาตรการทางกฎหมายในการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยของบริษัทรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ผูเขียนจะขอกลาวถึงผูเก่ียวของตามพระราชบัญญัติฯ มาตรการกํากับดูแลผูประกอบการและเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต รวมถึงอัตราคาธรรมเนียมและการลงโทษตามกฎหมายนี้ ท้ังนี้ ผูเขียนยังไดศึกษามาตรการทางกฎหมายเก่ียวกับธุรกิจรักษาความปลอดภัยในตางประเทศ ไดแกกฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐบริติชโคลัมเบียประเทศแคนาดา (Security Services Act 2007) และ กฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐริโซนาประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupations, Chapter 26,Security Guards) .

Page 73: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

63

1. มาตรการทางกฎหมายในธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ในพระบรมราชูปถัมภ

องคการสงเคราะหทหารผานศึกจัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2510 และปรับปรุงอีกคร้ังโดยพระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก(ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2560 มีฐานะเปนองคการของรัฐเพื่อการกุศล แตมิใชรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ มีวัตถุประสงคเพื่ อสงเคราะหทหารผานศึกครอบครัวทหารผานศึก และทหารนอกประจําการ 1 สํานักงานรักษาความปลอดภัยหนวยงานกิจการพิเศษขององคการทหารผานศึก เรียกชื่อยอวา "สปภ." มีผูอํานวยการสํานักงานรักษาความปลอดภัย เรียกชื่อยอวา "ผอ.สปภ." เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบมีหนาท่ีใหการศึกษาอบรม สงเสริมและพัฒนาดานอาชีพการรักษาความปลอดภัยซึ่งรวมถึงการใหบริการรักษาความปลอดภัย และกิจการโรงเรียนรักษาความปลอดภัยเพื่อชวยเหลือทหารผานศึก ครอบครัวทหารผานศึก ทหารนอกประจําการและบุคคลอื่นท่ีเห็นสมควรใหมีงานทําเปนอาชีพได และสนับสนุนกิจการขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ตลอดจนรวมการกุศลสาธารณะอื่นๆ

ปจจุบันประเทศไทยมีมาตรการทางกฎหมายในการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยแลว คือ พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 มีผลบังคับใชวันท่ี 5 มีนาคม 2559 โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อพิจารณาและกําหนดหลักเกณฑขอปฏิบัติ มีการประกาศหลักเกณฑตามกฎกระทรวงเพื่อกําหนดเง่ือนไขการประกอบธุรกิจและประกาศหลักเกณฑการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยเรียบรอยแลว

ตอมาไดมีประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเร่ือง กําหนดหนวยงานของรัฐท่ีไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ซึ่งกําหนดใหองคการสงเคราะหทหารผานศึกสามารถทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยโดยไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 จาก

1พระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2560. มาตรา 6.

Page 74: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

64

การศึกษาพบวาการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกมีระเบียบขององคการสงเคราะหทหารผานศึกมีระเบียบท่ีเก่ียวของดังนี้

1) ระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ. 2550

2) ระเบียบองคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยการลาของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก (ฉบับท่ี 1)พ.ศ.2545 และ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2555

3) ระเบียบองคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยกองทุนสวัสดิการเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหททหารผานศึก พ.ศ.2547

ซึ่งจากการศึกษายังพบวาขอปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยไมไดปรากฏในระเบียบขางตน แตไดกําหนดขึ้นเปนขอปฏิบัติภายในหนวยงานสํานักงานรักษาความปลอดภัย ผูเขียนจึงขอสรุปสาระสําคัญระเบียบและขอปฏิบัติท่ีเก่ียวของกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกดังนี้

1. การกําหนดคุณสมบัติและการคัดเลือกเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ตามระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก ไดกําหนดคุณสมบัติและการคัดเลือกเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยดังนี้

1) มีสัญชาติไทย2) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ และไมเกินหาสิบปบริบูรณ สําหรับผูมี

อายุไมถึงย่ีสิบปบริบูรณ ตองสําเร็จการศึกษาวิชาทหารไมต่ํากวาชั้นปท่ี 3 สวนผูท่ีอายุไมถึงย่ีสิบปบริบูรณท่ีไมไดสําเร็จการศึกษาวิชาทหารชั้นปท่ี 3 หรืออายุเกินหาสิบปบริบูรณ แตไมเกินหาสิบปบริบูรณใหผูอํานวยการองคการสงเคราะหทหารผานศึก/ประธานกรรมการบริหารสํานักงานรักษาความปลอดภัยจะอนุมัติยกเวนเปนกรณีพิเศษ ก็ได

Page 75: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

65

3) เปนผูเล่ือมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

4) มีการศึกษาไมต่ํากวาระดับประถมศึกษาตอนตน5) ไมเปนผูมีรางกายทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติงานได ไรความสามารถ

หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ6) ไมเปนโรคอันพึงรังเกียจ หรือติดยาเสพติดใหโทษ หรือโรคพิษสุราเร้ือรัง7) ไมเปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดีจนเปนท่ีรังเกียจของสังคม8) ไมเปนผูท่ีเคยถูกลงโทษาใหออก ปลดออก หรือไลออกจากงาน9) ไมเปนผูท่ีอยูระหวางถูกสั่งพักงาน10) ไมเปนผูท่ีมีหนี้สินลนพนตัว หรือถูกศาลสั่งใหเปนบุคคลลมละลาย11) ไมเปนผูเคยตองรับโทษจําคุก โดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก เพราะกระทํา

ความผิดทางอาญา เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ2

2. หนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก1) ตรวจทรัพยสิน อาคารสถานท่ีท่ีรับมอบใหละเอียดถูกตองทุกคร้ังท่ีเขา

และออกจากการปฏิบัติหนาท่ีพรอมดวยลงนามรับ-สงมอบไวเปนหลักฐานและดูแลทรัพยสินตลอดจน สถานท่ีทําการตางๆ ท่ีอยูในพื้นท่ีรับผิดชอบ

2) ดูแลระวังรักษาทรัพยสิน และอาคารท่ีรับผิดชอบไวอยาใหเกิดอันตรายและสูญหายหรือเสียหาย

3) รายงานเหตุการณประจําวัน ตอผูบังคับบัญชา หรือเวรของศูนยรักษาความปลอดภัย

4) ตรวจตราบุคคลท่ีเขาไปในบริเวณกองเก็บสินคา ตูสินคาท่ีรับผิดชอบหากไมมีหนาท่ี เก่ียวของกับการใชพื้นท่ีดังกลาว ตองแจงบุคคลนั้นทราบ และใหออกไปจาก พื้นท่ี

2ระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก. วาดวยเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550,ขอ 6.

Page 76: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

66

บริเวณนั้น กรณีตรวจพบบุคคลท่ีไมมีบัตรอนุญาตฝาฝนเขาไปในพื้นท่ีรับผิดชอบ โดยไมมีหนาท่ีเก่ียวของใหดําเนินการควบคุมตัว และแจงผูบังคับบัญชาเพื่อ ดําเนินการตามระเบียบ

5) หมั่นออกตรวจตราบริเวณตาง ๆ ในพื้นท่ีรับผิดชอบใหท่ัวถึงอยูเสมอๆเพื่อปองกัน มิใหเกิดการโจรกรรม หรือผูหนึ่งผูใดมาทําอันตรายแกทรัพยสิน

6) ทําการจับกุมผูเขามาประทุษกรรมตอทรัพยสินหรืออาคาร เมื่อประสพเหตุซึ่งหนา แลวนํามาแจงความใหเจาหนาท่ีตํารวจดําเนินคดีตอไป

7) หามบุคคลท่ีไมไดรับอนุญาต ใชสาธารณูปโภคของผูวาจาง8) ปฏิบัติตามระเบียบ คําสั่ง ของผูบังคับบัญชาและตัวแทนผูวาจางอยาง

เครงครัด9) ภารกิจหนาท่ีอื่นๆ ตามท่ีผูวาจางมอบหมาย3

3. สิทธิและสวัสดิการของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก

องคการสงเคราะหทหารผานศึก เนื่องจากเปนหนวยงานของรัฐจึงไมอยูบังคับของกฎหมายประกันสังคมซึ่งจากการสืบคนทางอินเตอรเน็ตปรากฏเอกสารในเว็บไซดสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก ซึ่งมีการสรุปสิทธิและสวัสดิการการรักษาพยาบาลและการเสียชีวิตแกเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยตามระเบียบองคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยกองทุนสวัสดิการเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2547 มีสาระสําคัญดังนี้

3http://www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=67&Itemid=61, (2 พฤษภาคม 2561).

Page 77: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

67

1) กรณีเจ็บปวย ตองย่ืนคํารองภายใน 90 วัน โดยแบงเปน 3 สาเหตุ คือ(1) สาเหตุท่ัวไป สําหรับเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย คูสมรส และบุตร

สามารถเบิกไดเปนคร้ังโดยกําหนดอัตราการเบิกคารักษาพยาบาลไดตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน อยูท่ีอัตรา 1,000 -3,000 บาท

(2) ขณะเดินทางไป-กลับ หรือในระหวางปฏิบัติหนาท่ี เบิกไดเฉพาะเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สามารถเบิกไดเปนคร้ังโดยกําหนดอัตราการเบิกคารักษาพยาบาลไดตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน อยูท่ีอัตรา 2,500 -5,000 บาท

(3) สาเหตุจากการปฏิบัติหนาท่ี เบิกไดเฉพาะเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยสามารถเบิกไดเปนคร้ังโดยกําหนดอัตราการเบิกคารักษาพยาบาลไดตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน อยูท่ีอัตรา 5,000 -30,000 บาท

2) กรณีเสียชีวิต ตองย่ืนคํารองภายใน 180 วัน โดยแบงเปน 3 สาเหตุ คือ(1) สาเหตุท่ัวไป กําหนดอัตราตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน อยูท่ีอัตรา 5,000 -

40,000บาท(2) ขณะเดินทางไป-กลับ กําหนดอัตราตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงานอยูท่ี

อัตรา 20,000 -60,000 บาท(3) สาเหตุจากการปฏิบัติหนาท่ี กําหนดอัตราตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน

อยูท่ีอัตรา 50,000 -100,000 บาทท้ังนี้ จากการศึกษายังพบวาเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะห

ทหารผานศึกไมตองมีการตออายุการเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ยังไมพบระเบียบและขอปฏิบัติภายในเร่ืองคาธรรมเนียมการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัย และบทลงโทษขององคการสงเคราะหทหารผานศึกและเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยเชนเดียวกับกรณีบริษัทรักษาความปลอดภัย และพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558 กลาวคือองคการสงเคราะหทหารผานศึกตองปฏิบัติตามระเบียบภายในและรับผิดชอบตามสัญญาจางเทานั้น

4. หนวยงานท่ีรับผิดชอบการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก คือ สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก

Page 78: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

68

เมื่อป พ.ศ.2522 พลเอก ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ขณะดํารงตําแหนงรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย ไดปรารภกับผูบริหารระดับสูงขององคการสงเคราะหทหารผานศึกวาองคการสงเคราะหทหารผานศึกควรจะมีหนวยงานในลักษณะหนวยงานธุรกิจรับเหมาดําเนินการในดานรักษาความปลอดภัยใหกับสถานท่ีราชการ รัฐวิสาหกิจ และธุรกิจเอกชน ท้ังนี้เพื่อสงเสริมดานการจัดหาอาชีพใหแกทหารผานศึก ครอบครัวทหารผานศึกและทหารนอกประจําการไดมีงานทํา โดยฝกอบรมแลวจัดหางานใหการประชุมสภาทหารผานศึก คร้ังท่ี 3/2522 เมื่อวันท่ี 27 กรกฎาคม 2522 ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบโครงการจัดตั้ง สํานักงานรักษาความปลอดภัย และมอบหมายใหคณะอนุกรรมการพิจารณาโครงการขององคการสงเคราะหทหารผานศึกนําไปพิจารณาตอมาใ นการประชุมสภาทหารผานศึกครั้งที่ 5/2522 เม่ือวันที่ 7 ธันวาคม 2522 ที่ประชุมไดมีมติอนุมัติโครงการ จัดตั้งสํานักงานรักษาความปลอดภัย ตามท่ีคณะอนุกรรมการเสนอ

สํานักงานรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก ใชชื่อยอวา "สปภ.อผศ."เปนหนวยงานกิจการพิเศษขององคการสงเคราะหทหารผานศึกเปดดําเนินการ เม่ือวันที่ 5กุมภาพันธ 2523 เปนตนมา จนถึงปจจุบันและยึดถือวันที่ 7 ธันวาคม ของทุกป เปนวันคลายวันสถาปนาจัดตั้ง สํานักงานรักษาความปลอดภัย4

สํานักงานรักษาความปลอดภัย มีหนาท่ีใหการศึกษาอบรม สงเสริมและพัฒนาดานอาชีพการรักษาความปลอดภัย ซึ่งรวมถึงการใหบริการรักษาความปลอดภัย และกิจการโรงเรียนรักษาความปลอดภัยเพื่อชวยเหลือทหารผานศึก ครอบครัวทหารผานศึกทหารนอกประจําการและบุคคลอื่นท่ีเห็นสมควรใหมีงานทําเปนอาชีพได และสนับสนุนกิจการขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ตลอดจนรวมการกุศลสาธารณะอื่นๆ เรียกชื่อยอวา "สปภ." มีผูอํานวยการสํานักงานรักษาความปลอดภัย เรียกชื่อยอวา"ผอ.สปภ." เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ มีวัตถุประสงคในการจัดตั้ง ดังนี้

1) เพื่อจัดหางานใหทหารผานศึก ครอบครัวทหารผานศึก และทหารนอกประจําการตามพระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2510 ไดทําหนาท่ี

4 สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก.http://www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=53&Itemid=89 , (2พฤษภาคม 2561).

Page 79: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

69

รักษาความปลอดภัยในสถานท่ีราชการ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานของรัฐ ตลอดจนธุรกิจของเอกชน ท้ังในดานหนวยงานและตัวบุคคล โดย

1.1) องคการสงเคราะหทหารผานศึกทําการฝกอบรมแลวหางานใหแกผูนั้นทําเปนรายบุคคล

1.2) องคการสงเคราะหทหารผานศึกรับงานการรักษาความปลอดภัยในสถานท่ีราชการ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานของรัฐ ตลอดจนธุรกิจของเอกชนมาทําโดยใหบุคคลท่ีสําเร็จการฝกอบรมตามหลักสูตรขององคการสงเคราะหทหารผานศึกเปนผูปฏิบัติ

2) เพื่อปรับปรุงมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยใหสูงขึ้นและยึดเปนอาชีพไดอยางจริงจัง

3) เพื่อทําหนาท่ีชวยเหลือในดานความมั่นคงและความปลอดภัยใหแกชาติบานเมืองตามนโยบายของกระทรวงกลาโหม5

สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก มีหนวยงานภายในโดยแบงสายงานเปน 8 สวน 1 ศูนยฯ และ 1 โรงเรียน ประกอบดวย

1) สวนดําเนินงาน มีหนาท่ีควบคุมกํากับดูแล การจัดเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยไปปฏิบัติงานตามพื้นท่ีตางๆ รวมถึงเปนตัวกลางในการในการติดตอประสานงานกับผูวาจางเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี รักษาความปลอดภัย

2) สวนธุรการ มีหนาท่ีรับ สง เก็บรักษา ตรวจตราดูแลความเรียบรอยและถูกตองของหนังสือ และกรรมวิธีเอกสารตามระเบียบของทางราชการ

3) สวนการเงิน มีหนาท่ีเก็บรักษาเงิน รับจายเงินประจําวัน4) สวนบัญชี มีหนาท่ีรวบรวมและตรวจสอบเอกสารประกอบการลงบัญชีให

ถูกตองสมบูรณกอนบันทึกรายการบัญชี เก็บรักษาเอกสาร และหลักฐานการเงินจัดทํางบดุลประจําป และรายงานการเงินประจําป รวมท้ังการจัดใหมีการตรวจสอบทางบัญชี

5สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกhttp://www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=54&Itemid=88 (2พฤษภาคม 2561)

Page 80: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

70

5) สวนการตลาด มีหนาท่ีดําเนินการทางดานการตลาด พิจารณาพื้นท่ีและความรับผิดชอบการรับดําเนินการรักษาความปลอดภัย

6) สวนสงกําลังบํารุง มีหนาท่ีดําเนินการเก่ียวกับการพัสดุ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ควบคุมพัสดุทางบัญชีหรือทะเบียน รวมท้ังการตรวจและการรายงาน

7) สวนนิติการ มีหนาท่ีใหคําแนะนํา ปรึกษาทางดานกฎหมาย พิจารณา วินิจฉัยแปลความ ตีความ ใหความเห็น ศึกษา เก็บรวบรวม ยกรางกฎหมายระเบียบ คําสั่งของสํานักงานรักษาความปลอดภัย รวมกับหนวยงานตาง ๆ

8) สวนปฏิบัติการ มีหนาท่ีควบคุม กํากับดูแล และตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และถูกตองตามเง่ือนไขสัญญาจาง จัดชุดตรวจเฉพาะกิจท้ังในกรุงเทพและปริมณฑล หรือชุดตรวจเฉพาะกิจตามท่ีไดระบุไวไนสัญญาจาง

9) ศูนยกรรมวิธีขอมูล มีหนาท่ีดูแลระบบปฏิบัติการของสํานักงาน และตรวจสอบอุปกรณคอมพิวเตอรของสํานักงานใหอยูในสภาพพรอมใชงาน

10) โรงเรียนรักษาความปลอดภัย มีหนาท่ีสรรหา รับสมัครและคัดเลือกบุคคลเขาปฏิบัติงานเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ทําการฝกอบรมผูผานการคัดเลือกเพื่อเขาปฏิบัติงานเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย และฝกฟนฟูทบทวนวินัย รปภ. ประจําจุด6

2. การทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยของบริษัทรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 มีผูเก่ียวของหลายสวนแตละสวนมีหนาท่ีท่ีจะตองปฏิบัติแตกตางกันไป ผูเขียนจึงไดทําการศึกษาเพื่อนํามาประกอบในการศึกษาดังตอไปนี้

6วิกิพีเดีย. https://th.wikipedia.org/wiki/, (2 พฤษภาคม 2561).

Page 81: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

71

1. ผูเก่ียวของกับการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจบริการรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยมีดังนี้

1) ผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองเปนบริษัทและไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจากนายทะเบียน7 จึงจะสามารถเปนบริษัทรักษาความปลอดภัยได

2) พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต จะตองเปนผูไดรับใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต 8 จึงจะสามารถปฏิบัติงานเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตได

3) คณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัย ประกอบดวยขาราชการโดยตําแหนง 6 คน และผูทรงคุณวุฒิอีก 6 คน มีผูบัญชาการตํารวจแหงชาติเปนประธานกรรมการ และมีผู บัญชาการตํารวจนครบาลเปนกรรมการและเลขานุการ 9 โดยคณะกรรมการดังกลาวมีอํานาจหนาท่ีในการกําหนดนโยบายและออกระเบียบคําสั่ง ใหเปนไปตามขอกําหนดตามพระราชบัญญัติฯ ตลอดจนมีหนาท่ีวินิจฉัยอุทธรณคําสั่งของนายทะเบียน และออกระเบียบกําหนดหลักเกณฑการเปรียบเทียบปรับผูกระทําผิด10 เชนเปนผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต เปนตน

4) นายทะเบียน มีการแบงอํานาจหนาท่ีไดแก นายทะเบียนกลาง กําหนดใหผูบัญชาการตํารวจนครบาลเปนนายทะเบียนกลาง มีอํานาจหนาท่ีตามพระราชบัญญัติเปนนายทะเบียนประจํากรุงเทพมหานคร มีอํานาจหนาท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ในเขตกรุงเทพมหานคร และรับผิดชอบการจัดทําบัญชีรายชื่อบริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตท่ัวราชอาณาจักร และนายทะเบียนจังหวัดกําหนดใหผูบังคับการตํารวจภูธรจังหวัดเปนนายทะเบียนจังหวัด มีอํานาจหนาท่ีตาม

7พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย. พ.ศ.2558. มาตรา 16.8พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย. พ.ศ.2558. มาตรา 33.9พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย. พ.ศ.2558. มาตรา 6.10พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย. พ.ศ.2558. มาตรา 10.

Page 82: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

72

พระราชบัญญัตินี้ในเขตจังหวัดของตน และรับผิดชอบการจัดทําบัญชีรายชื่อบริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตในเขตจังหวัดของตน11

5) “พนักงานเจาหนาท่ี” หมายความวา ผูซึ่งผูบัญชาการตํารวจแหงชาติแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้12

2. มาตรการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

ขออธิบายเฉพาะหนาท่ีของผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในสวนของการจดทะเบียนเปนบริษัทรักษาความปลอดภัย การขออนุญาตพนักงานรักษาความปลอดภัยผูรับอนุญาต คาธรรมเนียม และบทลงโทษท่ีกําหนดตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558

1. ผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองเปนบริษัท และไดรับใบอนุญาต

ประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจากนายทะเบียน โดยตองใชคํานําหนาชื่อวา “บริษัทรักษาความปลอดภัย” และคําวา “จํากัด” หรือ “จํากัดมหาชน” ตอทาย13 แลวแตประเภทการจดทะเบียนธุรกิจ ซึ่งบริษัทจะตองย่ืนขอขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตอนายทะเบียนในเขตพื้นท่ีของตนเอง และการจดทะเบียนธุรกิจเปนบริษัทจะตองเปนไปตามขอกําหนดคุณสมบัติของผูย่ืนคําขอมีใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยดังนี้

1) มีจํานวนหุนท่ีถือโดยบุคคลสัญชาติไทยเกินก่ึงหนึ่งของทุนจดทะเบียนของบริษัทจํากัดหรือทุนชําระแลวของบริษัทมหาชนจํากัด แลวแตกรณี

2) มีกรรมการซึ่งเปนบุคคลผูมีสัญชาติไทยเกินก่ึงหนึ่งของจํานวนกรรมการท้ังหมด ท้ังนี้ กรรมการท้ังหมดของบริษัทตองไมเคยเปนกรรมการหรือผูมีอํานาจจัดการแทนบริษัทท่ีถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย

11พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย. พ.ศ.2558. มาตรา 4.12พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย. พ.ศ.2558. มาตรา 4.13พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย. พ.ศ.2558. มาตรา 20.

Page 83: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

73

3) ไมเคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยท้ังนี้ ผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย หรือบริษัทท่ีจะเลิกประกอบธุรกิจใหบริการรักษาความปลอดภัยจะตองย่ืนขออนุญาตเลิกตอนายทะเบียน14

ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 กําหนดหนาท่ีผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยดังนี้

(1) จัดทําสัญญาการใหบริการรักษาความปลอดภัยตามรูปแบบท่ีกฎหมายกําหนดมิฉะนั้นจะเปนโมฆะ15

(2) ปฏิบัติตามมาตรฐานรักษาความปลอดภัยท่ีคณะกรรมกการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยกําหนด16

(3) จัดพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต หรือเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยไปปฏิบัติหนาท่ีตามสัญญาจางแกผูวาจาง17

(4) ใหความรวมมือแกตํารวจในการขอเขาตรวจดูขอมูลบันทึกเหตุการณเก่ียวกับการรักษาความปลอดภัย18

(5) แจงใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจทราบเมื่อมีขอมูลอาชญากรรมเบาะแสคนราย หรือการกระทําผิดอาญาเกิดขึ้น19

(6) จัดทําบัญชีรายชื่อพนักงานรักษาความปลอดภัยแกนายทะเบียน20

(7) จัดทํารายงานผลการดําเนินงานของบริษัทในรอบปท่ีผานมา21

14พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 32.15พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 25.16พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 26.17พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 27.18พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 28.19พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 29.20พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 30.21พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 31.

Page 84: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

74

4. พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตผู ท่ีประสงคจะทําหนาท่ีเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตหรือ

เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ตองไดรับใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตจากนายทะเบียน22 กลาวคือจะตองมีการย่ืนคําขอรับใบอนุญาตตอนายทะเบียนในเขตพื้นท่ี ซึ่งไปตามหลักเกณฑวิธีการ และเง่ือนไขท่ีกําหนดในกฎกระทรวงใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตมีอายุสามปนับแตวันท่ีออกใบอนุญาต23

ผูย่ืนคําขอมีใบอนุญาตไดจะตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้24

1. คุณสมบัติ จะตองเปนไปตามขอกําหนดดังนี้(1) มีสัญชาติไทย(2) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ(3) สําเร็จการศึกษาภาคบังคับตามกฎหมายวาดวยการศึกษาภาคบังคับ(4) ไดรับหนังสือรับรองวาไดผานการฝกอบรมหลักสูตรการรักษาความ

ปลอดภัยจากสถานฝกอบรมท่ีนายทะเบียนกลางรับรองตามวรรคสอง2) ลักษณะตองหาม จะตองไมปรากฏวาผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตมีลักษณะดังน้ี

(1) เปนโรคพิษสุราเร้ือรังหรือติดยาเสพติดใหโทษหรือเปนโรคติดตอท่ีคณะกรรมการกําหนด

(2) เปนคนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ คนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ

(3) เปนผูเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกสําหรับความผิดเก่ียวกับชีวิตและรางกายความผิดเก่ียวกับทรัพย หรือความผิดเก่ียวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายวาดวยการพนัน หรือความผิดตามกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติด เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือพนโทษมาแลวไมนอยกวาสามปกอนวันขอรับใบอนุญาตและมิใชความผิดเก่ียวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา

22พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 33.23พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 36.24พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 34.

Page 85: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

75

(4) เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัย รับอนุญาตมาแลวยังไมถึงสองปนับแตย่ืนคําขอรับใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต25

ท้ังนี้ เคร่ืองแบบของพนักงานรักษาความปลอดภัยผูรับอนุญาตหรือ เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย บริษัทรักษาความปลอดภัยจะกําหนดเครื่องแบบ ใหเหมือนหรือคลายคลึงกับเคร่ืองแบบของทหาร ตํารวจ หรือเคร่ืองแบบของเจาพนักงานซึ่งกฎหมายใหมีอํานาจและหนาที่รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนตามที่ นายทะเบียนกลางประกาศกําหนดมิได26

ในการปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตมีหนาท่ี ดังตอไปนี้

1) ชวยเหลือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในการจับกุมผูกระทําความผิด

2) รักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของบุคคล รวมท้ังระงับเหตุและรักษาความสงบเรียบรอยภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัยตามขอกําหนดในสัญญาจาง

3) เมื่อมีการกระทําความผิดอาญาหรือนาเชื่อวามีเหตุรายเกิดขึ้นภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัย ตองแจงเหตุนั้นใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจทองท่ีท่ีปฏิบัติหนาท่ีประจําอยูทราบโดยทันที รวมท้ังปดก้ันและรักษาสถานท่ีเกิดเหตุใหคงสภาพเดิมไวจนกวาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูมีอํานาจหนาท่ีจะเดินทางมาถึงสถานท่ีเกิดเหตุ27

3 คาธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.25581. คาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัติ ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความ

ปลอดภัย พ.ศ. 2558 ไดบัญญัติอัตราคาธรรมเนียมไวดังนี้

25พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 34 ข (4).26พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 40.27พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 41.

Page 86: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

76

1) ใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ฉบับละ 50,000 บาท2)ใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ฉบับละ1,000บาท3) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ฉบับละ 3,000 บาท4) ใบแทนใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ฉบับละ

100 บาท5) การตออายุใบอนุญาตคร้ังละ เทากับคาธรรมเนียมใบอนุญาต สําหรับ

ใบอนุญาตแตละฉบับ5. คาธรรมเนียมตามประกาศกฎกระทรวง ซึ่งพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความ

ปลอดภัย พ.ศ.2558 บัญญัติใหนายกรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัติ โดยจะกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยใหแตกตางกันโดยคํานึงถึงจํานวนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตของบริษัทรักษาความปลอดภัย จึงไดประกาศกฎกระทรวง การกําหนดคาธรรมเนียมเก่ียวกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยและการเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต พ.ศ.256028 โดยมีการกําหนดอัตราคาธรรมเนียมไวดังตอไปนี้

1) บริษัทรักษาความปลอดภัย(1) ใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย

ก. บริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีมีจํานวน พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ไมถึงหนึ่งรอยคน ฉบับละ 5,000 บาท

ข. บริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีมีจํานวนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ตั้งแตหนึ่งรอยคนแตไมถึงหารอยคน ฉบับละ 10,000 บาท

ค. บริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีมีจํานวนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ตั้งแตหารอยคนแตไมถึงหนึ่งพันคน ฉบับละ 20,000 บาท

28กฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยและการเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต พ.ศ.2560. ราชกิจจานุเบกษา หนา 28 เลม 134ตอนที่ 55 ก ลงวันที่ 21 เมษายน 2560.

Page 87: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

77

ง. บริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีมีจํานวนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ตั้งแตหนึ่งพันคนขึ้นไป ฉบับละ 30,000 บาท

(2) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษา ความปลอดภัย ฉบับละ1,000 บาท ท้ังนี้ การตออายุใบอนุญาตคร้ังละ เทากับคาธรรมเนียมใบอนุญาต สําหรับใบอนุญาตแตละฉบับ

2) พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต(1)ใบอนุญาตเปนพนักงาน รักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ฉบับละ300บาท(2) ใบแทนใบอนุญาตเปนพนักงาน รักษาความปลอดภัยรับอนุญาต

ฉบับละ 100 บาทท้ังนี้ การตออายุใบอนุญาตคร้ังละเทากับคาธรรมเนียมใบอนุญาตสําหรับ

ใบอนุญาตแตละฉบับ4. มาตรการลงโทษตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ .ศ. 2558 ไดบัญญัติบทลงโทษบริษัทธุรกิจรักษาความปลอดภัย พนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาต และบุคคลไมปฏิบัติตามขอกําหนดตามกฎหมาย

1. กรณีบริษัทรักษาความปลอดภัย มีการกําหนดโทษไวดังนี้1) ประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยโดยไมไดรับอนุญาต จําคุกไมเกิน

1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือ ท้ังจําท้ังปรับ29

2) มิไดเปนบริษัทรักษาความปลอดภัยใชชื่อหรือคําแสดงชื่อในธุรกิจวา"บริษัทรักษาความปลอดภัย" หรือคําอื่นท่ีมีความหมายเดียวกันปรับไมเกิน 50,000 บาทและปรับอีกไมเกินวันละ 5,000 บาทตลอดระยะเวลาท่ีฝาฝน30

3) ไมแสดงใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยไวในท่ีเปดเผยและเห็นไดงาย ณ สถานท่ีประกอบการท่ีระบุไวในใบอนุญาต ปรับไมเกิน 20,000 บาท31

29พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 16 ประกอบมาตรา 55.30พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 21 ประกอบมาตรา 56.31พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 23 ประกอบมาตรา 57.

Page 88: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

78

4) ไมย่ืนขอรับใบอนุญาตภายใน 30 วันนับแตรับทราบวาใบอนุญาตสูญหายถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระสําคัญ ปรับไมเกิน 20,000 บาท32

5) เปนกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดท่ีตองรับผิดชอบ ในกรณีบริษัทฝาฝนมาตรา 23 หรือ 24 เกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของกรรมการผูจัดการ หรือบุคคลนั้นหรือไมสั่งการหรือไมกระทําการอันเปนหนาท่ีท่ีตองกระทําของกรรมการผูจัดการ หรือบุคคลนั้น ปรับไมเกิน 20,000 บาท33

6) บริษัทไมปฏิบัติตามมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยท่ีคณะกรรมการกําหนด ปรับไมเกิน 100,000 บาท 34

7) เปนกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดท่ีตองรับผิดชอบ ในกรณีบริษัทฝาฝนมาตรา 26 เกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลนั้นหรือไมสั่งการหรือไมกระทําการอันเปนหนาท่ีท่ีตองกระทําของกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลนั้น35

8) บริษัทรักษาความปลอดภัยจัดพนักงานรักษาความปลอดภัยท่ีไมไดรับอนุญาตใหกับผูวาจาง ปรับไมเกิน 10,000 บาท36

9) เปนกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานและการท่ีบริษัทจัดพนักงานรักษาความปลอดภัยท่ีไมไดรับอนุญาตใหกับผูวาจาง เกิดจากการสั่งการ กระทําการ ไมสั่งการ หรือไมกระทําการอันเปนหนาท่ีท่ีตองกระทําของบุคคลนั้น จําคุกไมเกิน 6 เดือนหรือปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ37

32พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 23 วรรคหน่ึงประกอบมาตรา 57.

33พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. ประกอบมาตรา 67.34พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 26 ประกอบมาตรา 58.35พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 69.36พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 27 ประกอบมาตรา 59.37พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 27ประกอบมาตรา 57 วรรคสอง.

Page 89: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

79

10) บริษัทรักษาความปลอดภัยไมใหความรวมมือแกตํารวจซึ่งมียศตั้งแตรอยตํารวจขึ้นไปท่ีไดรับมอบหมายจากหัวหนาสถานีตํารวจในการขอเขาดูขอมูลบันทึกเหตุการณประจําวันเก่ียวกับรักษาความปลอดภัย ปรับไมเกิน 20,000 บาท38

11) บริษัทรักษาความปลอดภัยไมแจงขอมูลอาชญากรรม เบาะแสคนรายหรือการกระทําความผิดอาญาท่ีเกิดขึ้นหรือเชื่อวาเกิดขึ้นภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัยใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจท่ีปฏิบัติหนาท่ีประจําอยูในทองท่ีท่ีสถานท่ีรักษาความปลอดภัยนั้นตั้งอยูในทันที ปรับไมเกิน 20,000บาท39

12) เปนกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดท่ีตองรับผิดชอบ ในกรณีบริษัทฝาฝนมาตรา 28 หรือ 29 เกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลนั้นหรือไมสั่งการหรือไมกระทําการอันเปนหนาท่ีท่ีตองกระทําของกรรมการผูจัดการ หรือบุคคลนั้น จําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ40

13) ไมจัดทําบัญชีรายชื่อพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ย่ืนตอนายทะเบียนภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจ ปรับไมเกิน 20,000 บาทและปรับอีกไมเกินวันละ 500 บาทตลอดระยะเวลาท่ีฝาฝน41

14) มีการเปล่ียนแปลงพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตไมจัดทําบัญชีชื่อพนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาต ท่ีเปนปจจุบันย่ืนตอนายทะเบียน ภายใน15 วัน นับแตวันท่ีเปล่ียนแปลง ปรับไมเกิน 20,000 บาท และปรับอีกไมเกินวันละ 500 บาทตลอดระยะเวลาท่ีฝาฝน42

38พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 28 ประกอบมาตรา 60.39พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 29 ประกอบมาตรา 60.40พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 60 วรรคสอง.41พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 30 วรรคหน่ึงประกอบ

มาตรา 61.42พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 30 วรรคสอง ประกอบ

มาตรา 61.

Page 90: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

80

15) แสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอเท็จจริงท่ีควรแจงในรายงานผลการดําเนินงานหรือไมสงรายงานภายในระยะเวลาท่ีกําหนดปรับไมเกิน 20,000 บาทและปรับอีกไมเกินวันละ 500 บาทตลอดระยะเวลาท่ีฝาฝน43

16) เปนกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดท่ีตองรับผิดชอบ ในกรณีบริษัทฝาฝนมาตรา 30 หรือ 31 เกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลนั้นหรือไมสั่งการหรือไมกระทําการอันเปนหนาท่ีท่ีตองกระทําของกรรมการผูจัดการ หรือบุคคลนั้น ปรับไมเกิน 20,000 บาท และปรับอีกไมเกินวันละ 500 บาทตลอดระยะเวลาท่ีฝาฝน44

17) กําหนดเคร่ืองแบบของพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตท่ีมีลักษณะเหมือนหรือคลายกับเคร่ืองแบบทหาร ตํารวจ หรือเจาพนักงานซึ่งกฎหมายใหมีอํานาจและหนาท่ีรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนตามท่ีทะเบียนกลางกําหนด ปรับไมเกิน 10,000 บาท45

18) เปนกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดท่ีตองรับผิดชอบ ในกรณีบริษัทฝาฝนมาตรา 40 เกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลนั้นหรือไมสั่งการหรือไมกระทําการอันเปนหนาท่ีท่ีตองกระทําของกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลนั้น ปรับไมเกิน 10,000 บาท46

19) บริษัทรักษาความปลอดภัยทําสัญญารักษาความปลอดภัยระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาต ปรับไมเกิน 20,000 บาท47

20) เปนกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดท่ีตองรับผิดชอบ ในกรณีบริษัทฝาฝนมาตรา 62 เกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลนั้น

43พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 31 ประกอบมาตรา 61.44พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 69.45พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 40 ประกอบมาตรา 66.46พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 69.47 พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 42 วรรคสองประกอบ

มาตรา 62.

Page 91: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

81

หรือไมสั่งการหรือไมกระทําการอันเปนหนาท่ีท่ีตองกระทําของกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลนั้น จําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ48

21) ขัดขวางหรือไมอํานวยความสะดวกแกนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาท่ีเขาไปในสถานท่ีทําการของบริษัท รปภ.ในระหวางเวลาทําการ เพื่อนตรวจสอบการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย จําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ49

22) กรรมการ ผูจัดการ หรือพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตไมมาใชถอยคําหรือชี้แจง หรือสงเอกสารหรือหลักฐานท่ีเก่ียวของ ตามหนังสือเรียกของนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาท่ี จําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ50

6. กรณีพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต มีการกําหนดโทษไวดังนี้1) ทําหนาท่ีเปนพนักงาน รปภ. โดยไมไดรับอนุญาต จําคุกไมเกิน 3 เดือน

หรือปรับไมเกิน 5,000 บาท หรือ ท้ังจําท้ังปรับ51

2) ย่ืนคําขอใบอนุญาตเปน รปภ. โดยแสดงหลักฐานเท็จหรือปกปดขอเท็จจริง จําคุกไมเกิน 6 เดือนหรือปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ 52

3) ใบอนุญาตสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระสําคัญ แลวไมย่ืนคําขอใบแทนภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีรับทราบการสูญหายหรือถูกทําลาย ปรับไมเกิน 500 บาท53

4) ขณะปฏิบัติหนาท่ี รปภ. ไมสวมเคร่ืองแบบและติดเคร่ืองหมายหรือไมแสดงบัตรประจําตัวเมื่อบุคคลท่ีเก่ียวของรองขอ ปรับไมเกิน 500 บาท54

48พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 62 วรรคสอง.49พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 52 (1) ประกอบมาตรา 68.50พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 52 (2) ประกอบมาตรา 68.51พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 33 วรรคหน่ึงประกอบ

มาตรา 63.52พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 34ประกอบมาตรา 34.53พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 38 วรรคหน่ึงประกอบ

มาตรา 65.

Page 92: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

82

5) เปนพนักงาน รปภ. กระทําการดังตอไปนี้(1) ไมชวยเหลือเจาพนักงานฝายปกครอง/ตํารวจ ตามประมวลกฎหมายวิธี

พิจารณาความอาญาในการจับกุมผูกระทําความผิด(2) ไมรักษาความปลอดภัยชีวิต/ทรัพยสินของบุคคลรวมท้ังระงับเหตุและ

รักษาความสงบเรียบรอยในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบท่ีกําหนดในสัญญาจาง(3) เมื่อมีเหตุคดีอาญาหรือนาเชื่อวามีเหตุรายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ี

รับผิดชอบ ไมแจงเหตุใหเจาพนักงานฝายปกครอง/ตํารวจท่ีประจําอยูทราบทันที รวมท้ังปดก้ันและรักษาสถานท่ีใหคงสภาพไวจนกวาเจาพนักงานมาถึงปรับไมเกิน 10,000 บาท55

6) ไมแสดงบัตรประจําตัวตอนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาท่ีตามท่ีเรียกใหแสดง เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวามีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมาย จําคุกไมเกิน 1ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ 56

3. มาตรการทางกฎหมายเก่ียวกับธุรกิจรักษาความปลอดภัยในตางประเทศ

ธุรกิจรักษาความปลอดภัยในตางประเทศมีมาตรการทางกฎหมายและรายละเอียดท่ีควรนํามาศึกษาเพื่อประกอบการวิเคราะหปญหา ท้ังนี้ ผูเขียนไดนําเสนอไว2 ประเทศ คือ กฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐบริติชโคลัมเบียประเทศแคนาดา (Security Services Act 2007) และ กฎหมายกํากับดูแล การประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐริโซนาประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupations, Chapter 26,Security Guards) ดังนี้

1. กฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐบริติชโคลัมเบียประเทศแคนาดา (Security Services Act 2007) มีมาตรการดังนี้

54พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 39 วรรคหน่ึงประกอบมาตรา 65.

55พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 41 ประกอบมาตรา 67.56พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 52 (3) ประกอบมาตรา 68.

Page 93: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

83

1.1 มาตรการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัย57

1) ผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย มีเง่ือนไขการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยคือจะตองไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ ผูมีสิทธิย่ืนขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจจะเปนนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาก็ได

(1) กรณีเปนบุคคลธรรมดา มีขอกําหนดดังนี้ก. มีสัญชาติแคนาดาข. อายุ 19 ปขึ้นไปค. มีคุณสมบัติครบถวนตามท่ีขอบังคับกําหนดไว

(2) กรณีเปนองคกรหรือบริษัท จําตองมีผูจัดการ ซึ่งหนาท่ีดังนี้ก. มีหนาท่ีรับผิดชอบดูแลงานในแตละวันของพนักงานซึ่งมี

ใบอนุญาตตามกฎหมายข. อายุ 19 ปขึ้นไปค. มีคุณสมบัติครบถวนตามท่ีขอบังคับกําหนดไว

2) เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย คุณสมบัติของพนักงานรักษาความปลอดภัยตาม Security Services Act 2007 มีดังนี้

(1) สัญชาติแคนาดา(2) อายุไมต่ํากวา 19 ป(3) มีคุณสมบัติครบถวนตามท่ีขอบังคับกําหนดไวในแตละ

ประเภท2. หนาท่ีของผูใหบริการรักษาความปลอดภัย58

1) หนาท่ีของผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตาม Security Services Act2007 จะตองมีหนาท่ีดังนี้

57รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม, ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย, วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2560, หนา 33-37.

58รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม, เร่ืองเดียวกัน. หนา 41.

Page 94: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

84

(1) จะตองเปดเผยรายชื่อของบุคคลซึ่งอยูภายในหนวยงานหรือบริษัท(2) ตองกระทําในท่ีอยูท่ีแจงไวเทานั้นและหรือกระทําขึ้นโดยมีการ

ดําเนินการตามลักษณะท่ีแจงไวเทานั้น(3) จะตองแสดงใบอนุญาตประกอบการหรือใบอนุญาตของสาขา

ประกอบการในทุกสาขาของบริษัทท่ีไดรับการอนุญาตและแสดงไวในท่ีท่ีมองเห็นไดชัดเจน

(4) จะตองไมดําเนินธุรกิจโดยใชชื่ออื่นท่ีนอกเหนือจากชื่อท่ีจดทะเบียน(5) ตองวาจางเฉพาะบุคคลท่ีมีใบอนุญาตใหทํางานดานความปลอดภัยในดาน

ท่ีถูกวาจางนั้นเทานั้น(6) เก็บรักษาหนังสือหรือบันทึกตามท่ีกําหนด(7) ทําสัญญาประกันภัย(8) ผูซึ่งมีใบอนุญาตประกอบการจะตองรายงานเมื่อมีเหตุการณตอไปนี้

เกิดขึ้นภายใน 14 วัน กรณีดังตอไปนี้ก. เมื่อมีการเปล่ียนแปลงท่ีอยูอาศัยหรือท่ีอยูในการธุรกิจข. มีการเปล่ียนแปลงเจาของหรือการบริหารงานของธุรกิจค. เมื่อผูไดรับใบอนุญาตไดถูกแจงขอหาวากระทําความผิดทางอาญาง. เมื่อผูไดรับใบอนุญาตถูกตัดสินวาเปนผูกระทําผิดทางอาญาจ. เมื่อมีผูท่ีทํางานใหกับธุรกิจดานความปลอดภัยนั้นไดถูกตัดสินวามี

ความผิดทางอาญา(9) จะตองรายงานเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงรายชื่อบุคคลภายในหนวยงาน

ภายใน 14 วัน หลังจากมีการเปล่ียนแปลง2) หนาท่ีของพนักงานรักษาความปลอดภัย ท่ีเก่ียวกับการปฏิบัติหนาท่ี ตาม

Security Services Act 2007 จะตองมีหนาท่ีดังนี้59

(1) ในระหวางปฏิบัติหนาท่ีตองพกพาใบอนุญาตติดตัว สามารถแสดงไดเมื่อถูกเรียกดูจากผูซึ่งเก่ียวของกับการจางงาน

59รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 53.

Page 95: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

85

(2) หนาท่ีอื่นๆ เปนไปตามประเภทของใบอนุญาต3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อลงโทษผูกระทําความผิดในการดําเนินธุรกิจรักษา

ความปลอดภัยของรัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา60 ตาม Security Services Act 2007ของรัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา กําหนดมาตรการลงโทษผูกระทําความผิดไว2 ลักษณะ ไดแก การลงโทษทางปกครอง และการลงโทษทางอาญา ซึ่งมีลักษณะดังนี้

1) การลงโทษทางปกครอง เปนมาตรการท่ีอยูในอํานาจของนายทะเบียนในอันท่ีจะพิจารณาลงโทษผูท่ีกระทําการฝาฝนพระราชบัญญัตินี้ โดยไมจําตองใชอํานาจในทางศาล ซึ่งหากนายทะเบียนใหโอกาสผูท่ีกระทําการฝาฝนแกไขแลว กลับไมยอมแกไขนายทะเบียนมีอํานาจสั่งใหผูท่ีฝาฝนนั้นชําระคาปรับได ในกรณีบุคคลธรรมดาไมเกิน 5,000 เหรียญ กรณีนิติบุคคลไมเกิน 50,000 เหรียญ เมื่อนายทะเบียนกําหนดโทษปกครองแกบุคคลใดแลวบุคคลนั้นจะไมถูกดําเนินคดีเปนคดีอาญา ในความผิดเดียวกันนั้นอีก ความผิดทางปกครองไดแกการกระทําท่ีฝาฝนบทบัญญัติ ดังตอไปนี้

(1) บุคคลผูซึ่งครอบครองใบอนุญาตทํางานรักษาความปลอดภัยตองไมใชใบอนุญาต เพื่อผลประโยชนของบุคคลอื่น

(2) เมื่อใบอนุญาตหมดอายุ ถูกเพิกถอน ถูกระงับการใช หรือถูกปฏิเสธในกรณีของการตออายุ ผูไดรับใบอนุญาตจะตองสงคืนใบอนุญาตนั้นใหกับฝายทะเบียนทันที

(3) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตทํางานรักษาความปลอดภัยจะตองพกพาใบอนุญาตติดตัวและแสดงใบอนุญาตเมื่อถูกเรียกดู โดยผูซึ่งเก่ียวของกับการจางงาน

(4) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตทํางานรักษาปลอดภัยจะตองรายงานตอฝายทะเบียนหากมีเหตุตอไปนี้เกิดขึ้นภายในเวลา 14 วัน หลังจากเกิดเหตุ (1) เมื่อมีการเปล่ียนแปลงท่ีอยู (2) เมื่อผูไดรับอนุญาตไดถูกแจงขอหาวากระทําความผิดทางอาญา (3) เมื่อผูไดรับใบอนุญาตถูกตัดสินวาเปนผูกระทําผิดทางอาญา

(5) ผูซึ่งไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองแสดงใบอนุญาตประกอบการ หรือใบอนุญาตของสาขาประกอบการ ในทุกสาขาของบริษัทท่ี

60รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 74-81.

Page 96: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

86

ไดรับการอนุญาตใหประกอบธุรกิจดานความปลอดภัย และแสดงไวในท่ีท่ีมองเห็นไดชัดเจน

(6) ผูซึ่งไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองไมดําเนินธุรกิจโดยใชชื่ออื่นท่ีนอกเหนือจากชื่อท่ีจดทะเบียน และจะตองไมแสดงใบอนุญาตใหประกอบการท่ีออกใหบุคคลอื่น

(7) ใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะโอนไปใหผูอื่นไมไดนอกจากไดรับอนุญาตจากฝายทะเบียน ไมสามารถใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยท่ีออกใหแกผูอื่นได และในกรณีท่ีใบอนุญาตหมดอายุ ถูกเพิกถอน ถูกระงับการใชหรือไมไดรับอนุญาตใหตออายุ ใบอนุญาต รวมท้ังสําเนาท้ังหมดนั้นจะตองถูกสงคืนใหกับฝายทะเบียนโดยทันที

(8) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองไมวาจางบุคคลอื่นใด ใหทํางานดานวามปลอดภัยนอกจากบุคคลผูนั้นจะมีใบอนุญาตใหทํางานดานความปลอดภัยในดานท่ีถูกวาจางนั้น

(9) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองเก็บรักษาหนังสือหรือบันทึกตามท่ีกําหนด และทําสัญญาประกันภัยตามท่ีกําหนด

(10) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองรายงานเมื่อมีเหตุการณตอไปนี้เกิดขึ้นภายใน 14 วัน (1) เมื่อมีการเปล่ียนแปลงท่ีอยูอาศัยหรือท่ีอยูในการทําธุรกิจ (2) มีการเปล่ียนแปลงเจาของหรือการบริหารงานของธุรกิจ (3) เมือ่ผูไดรับใบอนุญาตไดถูกแจงขอหาวากระทําความผิดทางอาญา (4) เมื่อผูไดรับอนุญาต ถูกตัดสินวาเปนผูกระทําความผิดทางอาญา (5) เมื่อมีผูท่ีทํางานใหกับธุรกิจรักษาความปลอดภัยนั้นไดถูกตัดสินวามีความผิดทางอาญา

(11) ถาผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยประเภทใหสัญญาณเตือนภัยใดทําสัญญากับผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยประเภทใหสัญญาณเตือนภัยย่ืนเพื่อตรวจสอบสัญญาณเตือนความปลอดภัยหรือขายสัญญาณเพื่อตรวจสอบสัญญาณเตือนความปลอดภัย ผูประกอบธุรกิจนั้นจะตองแจงเปนลายลักษณอักษร แกลูกคาภายใน 14 วันหลังจากตกลงทําสัญญาหรือเสร็จสิ้นการขายและตองระบุชื่อ และท่ีอยูของผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยประเภทใหสัญญาณเตือนภัยอื่นไวในหนังสือแจง

Page 97: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

87

(12) หามมิใหผูใดตัด สราง โอน ใหยืม หรือใชกุญแจพิเศษแกบุคคลอื่น เวนแตเปนผูมีอํานาจตามกฎหมายนี้ หรือเจาของอุปกรณล็อคตองการใช หรือเปนอํานาจของเจาพนักงานเจาหนาท่ี

(13) บุคคลอื่นนอกจากผูท่ีไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติและเจาของอุปกรณล็อคตองไมมีเคร่ืองมือท่ีออกแบบหรือดัดแปลงเพื่อเปดหรือหลีกเล่ียงอุปกรณล็อคหรือไมตองใชกุญแจกับอุปกรณล็อคดังกลาว

(14) ผูท่ีไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้จะตองไมพกอาวุธปนในระหวางทําธุรกิจหรือทํางานรักษาความปลอดภัย

(15) เมื่อย่ืนขอใบอนุญาต หรือเมื่อไดรับคําสั่งจากนายทะเบียนหรือผูตรวจการ บุคคลตองไมจัดหาขอมูลท่ีผิดหรือทําใหเขาใจผิด

(16) บุคคลตองไมขัดขวาง หรือปฏิเสธการปฏิบัติของผูตรวจการหรือเจาหนาท่ี ท่ีใชอํานาจตามพระราชบัญญัตินี้ หรืออํานาจศาลตามพระราชบัญญัตินี้

(17) บุคคลท่ีทํางานรักษาความปลอดภัยหรือประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองไมใชคําวา นักสืบ เจาหนาท่ีบังคับใชกฎหมาย เจาหนาท่ีรักษาความสงบตํารวจ หรือทํานองเดียวกันนี้ อธิบายธุรกิจหรืองานรักษาความปลอดภัยของตน

(18) ผูท่ีไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองเก็บรักษาเอกสารและสัญญาตางๆ เปนเวลาไมนอยกวา 2 ป

(19) ผูท่ีไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองไมเผยแพรโฆษณา หรือกระทําดวยประการใด อันเปนการยกยองสนับสนุนความรุนแรงตอบุคคลและทรัพยสิน แสดงหรือกระทําการอยางอื่นวาธุรกิจรักษาความปลอดภัยเก่ียวของกับเจาหนาท่ีตํารวจ สงเสริมความเกลียดชังหรือการไมยอมรับความเห็นท่ีแตกตางของบุคคลหรือกลุมบุคคล

(20) ผูท่ีไดรับอนุญาตใหทํางานรักษาความปลอดภัยตองไมใชสัญลักษณหรือเคร่ืองราชอิสริยาภรณท่ีเหมือนหรือคลายกับเจาหนาท่ีตํารวจ และไมสงเสริมความเกลียดชังหรือการไมยอมรับความเห็นท่ีแตกตางของบุคคลหรือกลุมบุคคล

(21)บุคคลตองไมใชงานหรือทําใหเกิดการใชงานซึ่งยานพาหนะท่ีมีวัตถุประสงคเพื่องานดานความปลอดภัยท่ีไมเปนไปตามขอบังคับนี้

Page 98: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

88

(22) ผูไดรับอนุญาตใหทํางานรักษาความปลอดภัยตอไมพกหรือใชอุปกรณควบคุม อาวุธ หรืออุปกรณอื่นท่ีอาจทําอันตรายตอมนุษยหรือสัตว ในขณะทํางานรักษาความปลอดภัย เวนแตไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนตามเง่ือนไขท่ีกําหนด

(23) ผูไดรับอนุญาตใหทํางานรักษาความปลอดภัยตองมอบอุปกรณใดๆท่ีไดรับอนุญาตใหพกพาเมื่อผูตรวจการรองขอ

(24) หามสวมใสเคร่ืองแบบท่ีไมสอดคลองกับขอบังคับนี้(25) ผูไดรับอนุญาตใหทํางานรักษาความปลอดภัยตองไมสวมเครื่องแบบที่

คลายเจาหนาท่ีตํารวจ พกหรือใชเคร่ืองหมายแสดงตน หรือสวมอุปกรณเข็มขัดท่ีมีสายคลองไหลเชื่อมโยงกับสายเข็มขัด

(26) ผูไดรับอนุญาตใหทํางานรักษาความปลอดภัยตองไมสวมเคร่ืองแบบในขณะทํางานของนักสืบเอกชน

(27) ผูไดรับอนุญาตใหทํางานรักษาความปลอดภัยท่ีใหบริการ รถหุมเกราะตองสวมเคร่ืองแบบท่ีแสดงชื่อของบุคคลท่ีไดรับการวาจางหรือจางผูไดรับใบอนุญาต

(28) บุคคลตองไมใชหรือมีไวเพื่อใชซึ่งสุนัขท่ีมีไวเพื่อวัตถุประสงคสําหรับงานรักษาความปลอดภัย เวนแตไดรับอนุญาต

2) การลงโทษทางอาญา เปนการลงโทษโดยอาศัยอํานาจศาล ซึ่งไดแก การกระทําท่ีฝาฝนบทบัญญัติ ดังตอไปนี้

(1) บุคคลจะไมสามารถทํางานดานความปลอดภัยไดหรือใหเกิดการจางงานได เวนแตไดรับอนุญาต

(2) ผูท่ีไดรับใบอนุญาตใหทํางานรักษาความปลอดภัยตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้และเง่ือนไขของใบอนุญาต

(3) บุคคลผูซึ่งครอบครองใบอนุญาตทํางานรักษาความปลอดภัยตองไมใชใบอนุญาต เพื่อผลประโยชนของบุคคลอื่น

(4) เมื่อใบอนุญาตหมดอายุ ถูกเพิกถอน ถูกระงับการใช หรือถูกปฏิเสธในกรณีของการตออายุ ผูไดรับใบอนุญาตจะตองสงคืนใบอนุญาตนั้นใหกับฝายทะเบียนทันที

Page 99: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

89

(5) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตทํางานรักษาความปลอดภัยจะตองพกพาใบอนุญาตติดตัวและแสดงใบอนุญาตเมื่อถูกเรียกดูโดยผูซึ่งเก่ียวของกับการจางงาน

(6) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตทํางานรักษาปลอดภัยจะตองรายงานตอฝายทะเบียนหากมีเหตุตอไปนี้เกิดขึ้นภายในเวลา 14 วัน หลังจากเกิดเหตุ ดังตอไปนี้

ก. เมื่อมีการเปล่ียนแปลงท่ีอยูข. เมื่อผูไดรับอนุญาตไดถูกแจงขอหาวากระทําความผิดทางอาญาค. เมื่อผูไดรับใบอนุญาตถูกตัดสินวาเปนผูกระทําผิดทางอาญา

(7) บุคคลตองไมประกอบการธุรกิจรักษาความปลอดภัยหากไมมีใบอนุญาตหรือถาไมมีก็ตองไดรับการยกเวนจากกฎหมายขอบังคับท่ีกําหนดวาตอองมีใบอนุญาต

(8) ผูซึ่งไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้และปฏิบัติตามกฎขอบังคับท่ีกําหนดในใบอนุญาต

(9) ผูซึ่งไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองแสดงใบอนุญาตประกอบการหรือใบอนุญาตของสาขาประกอบการ ในทุกสาขาของบริษัทท่ีไดรับการอนุญาตใหประกอบธุรกิจดานความปลอดภัยและแสดงไวในท่ีท่ีมองเห็นไดชัดเจน

(10) ผูซึ่งไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองไมดําเนินธุรกิจโดยใชชื่ออื่นท่ีนอกเหนือจากชื่อท่ีจดทะเบียน และจะตองไมแสดงใบอนุญาตใหประกอบการท่ีออกใหบุคคลอื่น

(11) ใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะโอนไปใหผูอื่นไมไดนอกจากไดรับอนุญาตจากฝายทะเบียน ไมสามารถใชใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยท่ีออกใหแกผูอื่นได และในกรณีท่ีใบอนุญาตหมดอายุ ถูกเพิกถอนถูกระงับการใชหรือไมไดรับอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต รวมท้ังสําเนาท้ังหมดนั้นจะตองถูกสงคืนใหกับฝายทะเบียนโดยทันที

(12) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองไมวาจางบุคคลใด ใหทํางานดานความปลอดภัยนอกจากบุคคลผูนั้นจะมีใบอนุญาตใหทํางานดานความปลอดภัยในดานท่ีถูกวาจางนั้น

Page 100: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

90

(13) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองเก็บรักษาหนังสือหรือบันทึกตามท่ีกําหนด และทําสัญญาประกันภัยตามท่ีกําหนด

(14) บุคคลผูซึ่งมีใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองรายงานเมื่อมีเหตุการณตอไปนี้เกิดขึ้นภายใน 14 วัน เมื่อมีกรณีดังตอไปนี้

ก. เมื่อมีการเปล่ียนแปลงท่ีอยูอาศัยหรือท่ีอยูในการทําธุรกิจข. มีการเปล่ียนแปลงเจาของหรือการบริหารงานของธุรกิจค. เมื่อผูไดรับใบอนุญาตไดถูกแจงขอหาวากระทําความผิดทางอาญาง. เมื่อผูไดรับอนุญาตถูกตัดสินวาเปนผูกระทําความผิดทางอาญาจ. เมื่อมีผูท่ีทํางานใหกับธุรกิจรักษาความปลอดภัยนั้นไดถูกตัดสินวา

มีความผิดทางอาญา(15) ถาผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยประเภทใหสัญญาณเตือนภัย

ใดทําสัญญากับผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยประเภทใหสัญญาณเตือนภัยย่ืนเพื่อตรวจสอบสัญญาณเตือนความปลอดภัยหรือขายสัญญาณเพื่อตรวจสอบสัญญาณเตือนความปลอดภัย ผูประกอบธุรกิจนั้นจะตองแจงเปนลายลักษณอักษรแกลูกคาภายใน 14 วันหลังจากตกลงทําสัญญาหรือเสร็จสิ้นการขายและตองระบุชื่อและท่ีอยูของผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยประเภทใหสัญญาณเตือนภัยอื่นไวในหนังสือแจง

(16) หามมิใหผูใดตัด สราง โอน ใหยืม หรือใชกุญแจพิเศษแกบุคคลอื่นเวนแตเปนผูมีอํานาจตามกฎหมายนี้ หรือเจาของอุปกรณล็อคตองการใช หรือเปนอํานาจของเจาพนักงานเจาหนาท่ี

(17) บุคคลอื่นนอกจากผูท่ีไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติและเจาของอุปกรณล็อคตองไมมีเคร่ืองมือท่ีออกแบบหรือดัดแปลงเพื่อเปดหรือหลีกเล่ียงอุปกรณล็อคหรือไมตองใชกุญแจกับอุปกรณล็อคดังกลาว

(18) ผูท่ีไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้จะตองไมพกอาวุธปนในระหวางทําธุรกิจหรือทํางานรักษาความปลอดภัย เวนแตเปนผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยประเภทรถหุมเกราะและไดรับอนุญาตจากนายทะเบียน

(19) นิติบุคคลท่ีไมไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองไมจางหรือดําเนินการอื่นใดใหบุคคลทํางานรักษาความปลอดภัย

Page 101: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

91

2. กฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupations, Chapter 26, Security Guards)

1. มาตรการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัย61

1) ผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย มีเง่ือนไขการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยคือจะตองไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ ผูมีสิทธิย่ืนขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจจะเปนนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาก็ได โดยคุณสมบัติของผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ท้ังกรณีบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ผูสมัครจะตองมีดังนี้

(1) อายุไมต่ํากวา 21 ป(2) ถือสัญชาติสหรัฐหรือเปนผูท่ีสามารถประกอบอาชีพไดอยาง

ถูกตองตามกฎหมายของสหรัฐอเมริกา(3) ไมเปนผูท่ีกระทําความผิดทางอาญาหรือเปนผูท่ีถูกกลาวหาวาเปน

ผูกระทําผิดทางอาญา(4) ไมเปนผูท่ีถูกตัดสินวากระทําความผิดทางอาญาภายในระยะเวลา

5 ปกอนการสมัครขอรับใบอนุญาตหรือกระทําการดังตอไปนี้ก.ใชความรุนแรงตอบุคคลอื่นหรือกระทําการขมขูวาจะใชความรุนแรง

ตอบุคคลอื่นข. ประพฤติผิดโดยเก่ียวของกับอาวุธอันตรายค. ทุจริตหรือฉอโกงง. การลอบวางเพลิงจ. ความรุนแรงในครอบครัวฉ. ประพฤติผิดทางเพศ

(5) ไ ม เ ปน ผู ท่ี กํ า ลั ง อ ยู ใน ช วง คุม ป ระ พฤ ติ ห รื ออ ยู ใน คว า มควบคุมดูแลของชุมชน หรือกําลังพักงาน หรือถูกกักขังภายในบานพัก หรือกําลังจะไดรับการปลอยตัวจากการกระทําความผิด หรือมีชื่ออยูในหมายจับประเภทของการกระทําความผิดท่ีรายแรง

61 รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม, เร่ืองเดียวกัน. หนา 36.

Page 102: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

92

(6) ไมอยูในชวงเวลาของการภาคทัณฑจากการกระทําความผิดประเภททํารายรางกายหรือความรุนแรงภายในครอบครัว

(7) ไมเปนผูท่ีถูกตัดสินวาเปนวิกลจริต หรือวาเปนผูท่ีเปนภัยตอตนเองและตอผูอื่นหรือเปนผูท่ีมีความพิการอยางรายแรง

(8) ไมเปนผูท่ีทุพพลภาพ(9) ไมเปนผูท่ีถูกตัดสินวาไดพยายามกระทําการหรือกระทําการ

แสดงตนวาเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยโดยท่ีไมมีใบอนุญาตในกรณีท่ีมีการเรียกดูใบอนุญาต

(10) ไมเปนผูท่ีอยูในทะเบียนผูกระทําผิดเก่ียวกับเพศ(11) ผูจัดการตองมีประสบการณอยางนอยสามปในตําแหนงผูจัดการ

หรือเปนท่ีปรึกษาหรือผูบริหารของธุรกิจท่ีทําเก่ียวกับดานรักษาความปลอดภัย หรือมีประสบการณสามปในการใหคําปรึกษากับทางดานฝายกลาโหมของสหรัฐอเมริกา หรือทางดานกฎหมายในระดับองคกรขอบเขตหรือเขตเทศบาล

2) เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย คุณสมบัติของพนักงานรักษาความปลอดภัยตาม Occupations, Chapter 26, Security Guards มีดังนี้62

(1) อายุไมต่ํากวา 18 ป(2) สัญชาติสหรัฐฯ หรือเปนพลเมืองท่ีถูกตองตามกฎหมายของสหรัฐฯ(3) ไมเคยมีประวัติอาชญากรรมรายแรงถืออยูในระหวางถูกกลาวหาวา

มีประวัติอาชญากรรมรายแรง(4) ไมเคยมีประวัติอาชญากรรมในระยะเวลา 5 ปกอนท่ีจะขอใบอนุญาต

การทํางาน(5) ไมเปนผูท่ีอยูในการคุมประพฤติ หรืออยูในความควบคุมดูแลของชุมชน

หรือกําลังพักงานหรือถูกหรือถูกกักขังภายในบานพัก หรือกําลังจะไดรับการปลอยตัวจากการกระทําความผิดหรือมีชื่ออยูในหมายจับประเภทของการกระทําความผิดท่ีรายแรง

62รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 54.

Page 103: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

93

(6) ไมอยูในชวงเวลาของการภาคทัณฑจากการกระทําความผิดประเภททํารายรางกายหรือความรุนแรงภายในครอบครัว

(7) ไมเปนผูวิกลจริต(8) ไมเปนผูท่ีทุพพลภาพ(9) ไมเปนผูท่ีถูกตัดสินวาไดพยายามกระทําการหรือกระทําการ

แสดงตนวาเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยโดยท่ีไมมีใบอนุญาต(10) ไมเปนผูท่ีอยูในทะเบียนผูกระทําผิดเก่ียวกับเพศท้ังนี้ ในกรณีพนักงานรักษาความปลอดภัยท่ีพกอาวุธ นอกจากคุณสมบัติ

ขางตนดังกลาวแลวยังตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้1) ผานการตรวจสอบประวัติตามท่ีกําหนด2) ไมเปนผูท่ีถูกปลดออกจากกองทัพสหรัฐฯดวยเหตุผลท่ีไมสมควร3) ไมเปนผูท่ีถูกตัดสินวามีความผิดในขอหาใชความรุนแรงตอบุคคล

ในครอบครัว4) ไมเปนผูท่ีถูกหามไมใหครอบครองอาวุธ

3. หนาท่ีของผูใหบริการรักษาความปลอดภัย63

1) หนาท่ีของผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ตาม Occupations, Chapter26, Security Guards จะตองมีหนาท่ีดังนี้

(1) ตองทําสัญญาประกันความรับผิดกับบริษัทประกันท่ีไดรับอนุญาต(2) ตองทําประกันคาชดเชยของพนักงาน(3) ตองมีการจัดการอบรมกอนการทํางาน 8 ชั่วโมง ใหกับพนักงาน

ทุกคนในตําแหนงพนักงานรักษาความปลอดภัย(4) ตองมีประวัติท่ีถูกตองโดยละเอียดของลูกจางทุกคนท่ีบริษัทได

ตกลงทําการวาจาง

63รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 42.

Page 104: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

94

(5) ตองมีการอบรมเก่ียวกับการใชอาวุธปนอยางนอย 16 ชั่วโมง และ8 ชั่วโมง สําหรับการใชอาวุธของพนักงานรักษาความปลอดภัย ถาหากการใชอาวุธปนเปนสิ่งท่ีรวมอยูในความรับผิดชอบ

(6) ตองเปดเผยขอมูลเก่ียวกับการกระทําความผิดอาญาใหกับเจาหนาท่ี

2) หนาท่ีของพนักงานรักษาความปลอดภัย ตาม Occupations, Chapter26, Security Guards จะตองการปฏิบัติหนาท่ีดังนี้64

(1) ปฏิบัติตามสัญญาจาง(2) ตองไมครอบครองหรือพกพาอาวุธในขณะปฏิบัติหนาท่ีนอกจาก

ไดรับอนุญาตโดยการลงทะเบียนและไดรับรองโดยผูวาจางใหพกพาและครอบครองอาวุธได

(3) ตองแจงใหกับผูอํานวยการทราบภายใน 15 วันทําการ ถาหากมีการเปล่ียนชื่อหรือท่ีอยู

4. มาตรการทางกฎหมายเพื่อลงโทษผูกระทําความผิดในการดําเนินธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา65

การฝาฝนบทบัญญัติตางๆ ยอมเปนความผิดท้ังสิ้น โดย Title 32-Professions andOccupations, Chapter 26, Security Guards ของรัฐแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกาบัญญัติไววา ผูใดฝาฝนบทบัญญัติในกฎหมายนี้เปนความผิดตอความผิดทางอาญาระดับ1 ซึ่งมีโทษจําคุกไมเกิน 6 เดือน หรือปรับไมเกิน 2,500 ดอลลาร

64รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 56.65รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 82.

Page 105: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

บทที่ 4วิเคราะหปญหาการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศกึ

ปจจุบันประเทศไทยมีมาตรการทางกฎหมายในการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยแลว คือพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 มีผลบังคับใชวันท่ี 5 มีนาคม 2559 โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อพิจารณาและกําหนดหลักเกณฑขอปฏิบัติ มีการประกาศหลักเกณฑตามกฎกระทรวงเพื่อกําหนดเง่ือนไขการประกอบธุรกิจและประกาศหลักเกณฑการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยเรียบรอยแลว ตอมาไดมีประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเร่ืองกําหนดหนวยงานของรัฐท่ีไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ซึ่งกําหนดใหองคการสงเคราะหทหารผานศึกสามารถทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยโดยไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ซึ่งเปนหนวยงานของรัฐท่ีทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยหรือใหบริการรักษาความปลอดภัยใหแกผูวาจางท้ังภาครัฐและภาคเอกชนเพียงรายเดียวการทําธุรกิจมีสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก เปนหนวยงานกิจการพิเศษรับผิดชอบ และมีระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550กํากับดูแลการดําเนินงานของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหาร ผานศึก

ผลของการศึกษาหลักการพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558ระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกพ.ศ.2550 แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การบัญญัติคุมครองสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพตามเจตนารมณรัฐธรรมนูญในการประกอบอาชีพการแขงขันทางธุรกิจท่ีเปนธรรม ความหมายธุรกิจบริการ บทบาทของรัฐในการควบคุมการประกอบธุรกิจ การคุมครองผูบริโภคของภาครัฐท่ีเขามาควบคุมดูแลโดยกลไกของ

Page 106: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

96

กฎหมาย และจากการศึกษาทบทวนหนังสือ บทความและงานวิจัยท่ีเ ก่ียวของ พบวามีประเด็นปญหาท่ีนาสนใจซึ่งสามารถนํามาใชในการปรับปรุงแกไขปญหาการไดรับยกเวนมาตรการทางกฎหมายในการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ดังนี้

1. ปญหาเก่ียวกับการแขงขันทางธุรกิจที่ไมเปนธรรม

จากการศึกษาหลักการตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พุทธศักราช 2558 และประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเร่ือง ยกเวนหนวยงานของรัฐไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัย พบวามีปญหาท่ีควรศึกษาเพื่อหาแนวทางแกไขดังนี้

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 40 บัญญัติวาบุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพการจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายท่ีตราขึ้นเพื่อรักษาความมั่นคงหรือเศรษฐกิจของประเทศ การแขงขันอยางเปนธรรม การปองกันหรือขจัดการกีดกันหรือการผูกขาด การคุมครองผูบริโภค การจัดระเบียบการประกอบอาชีพเพียงเทาท่ีจําเปนหรือเพื่อประโยชนสาธารณะอยางอื่น การตรากฎหมายเพื่อจัดระเบียบการประกอบอาชีพตามวรรคสอง ตองไมมีลักษณะเปนการเลือกปฏิบัติ หรือกาวกายการจัดการศึกษาของสถาบันการศึกษา

จากเจตนารมณของรัฐธรรมนูญเร่ืองสิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพมีเจตนารมณเพื่อประกันเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การแขงขันทางธุรกิจท่ีเปนธรรมความปลอดภัย สวัสดิภาพ และการดํารงชีพของคนทํางาน

พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 กําหนดใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อพิจารณาและกําหนดหลักเกณฑขอปฏิบัติ มีการประกาศหลักเกณฑตามกฎกระทรวงเพื่อกําหนดเง่ือนไขการประกอบธุรกิจและประกาศหลักเกณฑการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทย การยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยท่ีจะตองอยูภายใตมาตรการ

Page 107: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

97

ทางกฎหมายการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย โดยกรณีท่ีองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมตองปฏิบัติเชนเดียวกับบริษัทรักษาความปลอดภัย มีดังนี้

1.1ขอไดเปรียบกรณีใบอนุญาตและอายุใบอนุญาตของผูปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัย

ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 มาตรา 33 ผูท่ีประสงคจะทําหนาท่ีเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต หรือเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ตองไดรับใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตจากนายทะเบียนกลาวคือจะตองมีการย่ืนคําขอรับใบอนุญาตตอนายทะเบียนในเขตพื้นท่ี ซึ่งไปตามหลักเกณฑวิธีการ และเง่ือนไขท่ีกําหนดในกฎกระทรวง ท้ังนี้ ใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตมีอายุสามปนับแตวันท่ีออกใบอนุญาตเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก มีระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550 ในการกําหนดคุณสมบัติและการปฏิบัติงาน ซึ่งแมจะมีการกําหนดคุณสมบัติเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยอันเปนสวนหนึ่งในการคัดเลือกบุคคลผูมาปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก แตก็มิไดมีกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดเชนเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยพ.ศ.2558 ท่ีนอกจากจะตองดําเนินการตามขั้นตอน เสนอคณะกรรมการพิจารณา ยังมีกําหนดเวลาของใบอนุญาตท่ีใชไดเปนระยะเวลาสามป

จากการกระบวนการขอใบอนุญาตของพนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาตซึ่งมีอายุใบอนุญาตสามป ผูเขียนจึงเห็นวาเปนขอจํากัดของผูประกอบการหรือบริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีจะตองจัดหาพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต และตองเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตท่ีใบอนุญาตยังไมหมดอายุดวย ตางจากองคการสงเคราะหทหารผานศึกท่ีการประกอบธุรกิจสามารถดําเนินการไดโดยไมตองกังกลหรือจํากัดดานบุคลากรเนื่องจากไมตองอยูภายใตบังคับพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 กรณีดังกลาวผูเขียนเห็นวาเปนการไดเปรียบทางธุรกิจ

Page 108: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

98

1.2 ขอไดเปรียบกรณีคาธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยพ.ศ.2558 ทายพระราชบัญญัติ

ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ไดบัญญัติอัตราคาธรรมเนียมไวดังนี้

1) ใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ฉบับละ 50,000 บาท2) ใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ฉบับละ 1,000 บาท3) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ฉบับละ 3,000 บาท4) ใบแทนใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ฉบับละ 100 บาท5) การตออายุใบอนุญาตคร้ังละ เทากับคาธรรมเนียมใบอนุญาต สําหรับใบอนุญาต

แตละฉบับซึ่งพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 บัญญัติใหนายกรัฐมนตรี

มีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัติ โดยจะกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยใหแตกตางกันโดยคํานึงถึงจํานวนพนักงาน รักษาความปลอดภัยรับอนุญาตของบริษัทรักษาความปลอดภัย จึงไดประกาศกฎกระทรวงการกําหนดคาธรรมเนียมเก่ียวกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยและการเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต พ.ศ.2560 มีการกําหนดอัตราคาธรรมเนียมไวดังตอไปนี้

1. บริษัทรักษาความปลอดภัย1) ใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย

(1) บริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีมีจํานวนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตไมถึงหนึ่งรอยคน ฉบับละ 5,000 บาท

(2) บริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีมีจํานวน พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ตั้งแตหนึ่งรอยคนแตไมถึงหารอยคน ฉบับละ 10,000 บาท

(3) บริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีมีจํานวน พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ตั้งแตหารอยคนแตไมถึงหนึ่งพันคน ฉบับละ 20,000 บาท

Page 109: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

99

(4) บริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีมีจํานวน พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ตั้งแตหนึ่งพันคนขึ้นไป ฉบับละ 30,000 บาท

2) ใบแทนใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษา ความปลอดภัย ฉบับละ 1,000 บาทท้ังนี้ การตออายุใบอนุญาตคร้ังละ เทากับคาธรรมเนียมใบอนุญาต สําหรับใบอนุญาตแตละฉบับ

2. พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต1) ใบอนุญาตเปนพนักงาน รักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ฉบับละ 300 บาท2)ใบแทนใบอนุญาตเปนพนักงาน รักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ฉบับละ 100บาท

ท้ังนี้ การตออายุใบอนุญาตคร้ังละ เทากับคาธรรมเนียมใบอนุญาต สําหรับใบอนุญาตแตละฉบับจากคาธรรมเนียมขางตนท่ีบริษัทธุรกิจรักษาความปลอดจะตองรับภาระท้ังขั้นตอนการปฏิบัติและจํานวนเงิน ผูเขียนเห็นวาเปนขอไดเปรียบทางธุรกิจท่ีองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมตองรับภาระดานตนทุน มีผลตอการเสนอราคาแขงขันกับผูประกอบการธุรกิจรักษาความปลอดภัยอื่นซึ่งตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

จากท้ังสองกรณีขางตน ผูเขียนเห็นวาการยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ขัดตอเจตนารมณของรัฐธรรมนูญเร่ืองสิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ท่ีมีเจตนารมณเพื่อประกันเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การแขงขันทางธุรกิจท่ีเปนธรรม

2. ปญหาการกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจ

การประกอบธุรกิจในปจจุบันนั้น นอกจากผูประกอบธุรกิจจะตองปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเก่ียวของแลว รัฐจึงเขามามีบทบาทในการควบคุมธุรกิจ เพื่อใหเกิดความเป นธรรมทางการคา และความปลอดภัยในการบริโภค โดยเฉพาะการคุมครองผูบริโภคภาครัฐจะเขามาควบคุมดูแลโดยกลไกของกฎหมาย ซึ่งจากเหตุท่ีธุรกิจการใหบริการรักษาความปลอดภัยมีความเก่ียวของใกลชิดกับความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของประชาชน และสงผลตอความสงบเรียบรอยของสังคม และปจจุบันนี้มี

Page 110: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

100

ผูประกอบธุรกิจการใหบริการรักษาความปลอดภัยเปนจํานวนมากแตมีมาตรฐานในการประกอบธุรกิจท่ีแตกตางกัน จึงไดมีการตราพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยพ.ศ.2558 มีผลบังคับใชวันท่ี 5 มีนาคม 2559 เพื่อกําหนดมาตรฐานของธุรกิจรักษาความปลอดภัยและเสริมสรางศักยภาพของพนักงานรักษาความปลอดภัยจะเปนประโยชนแกผูใชบริการและชวยเสริมสรางความสงบเรียบรอยของสังคม โดยพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 กําหนดใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อพิจารณาและกําหนดหลักเกณฑขอปฏิบัติ มีการประกาศหลักเกณฑตามกฎกระทรวงเพื่อกําหนดเง่ือนไขการประกอบธุรกิจและประกาศหลักเกณฑการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทย

มาตรการตามกฎหมายท่ีใหผูประกอบการธุรกิจรักษาความปลอดภัย และเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย จะไดขอใบอนุญาตบริษัทรักษาความปลอดภัย และพนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาต สอดคลองกับทฤษฎีใหองคกรฝายบริหารควบคุมผูประกอบธุรกิจโดยจดทะเบียนและออกใบอนุญาต ทฤษฎีนี้เปนทฤษฎีท่ีใหฝายบริหารเขามาควบคุมการทําสัญญาของเอกชนเพื่อไมใหเอารัดเอาเปรียบกันเรียกวา “Administration”คือ การท่ีใหอํานาจแกเจาท่ีบานเมืองเขามาแทรกแซงการทํานิติกรรมสัญญา โดยวิธีการออกใบอนุญาต1 และการกําหนดใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อพิจารณาและกําหนดหลักเกณฑขอปฏิบัติ มีการประกาศหลักเกณฑตามกฎกระทรวงเพื่อกําหนดเง่ือนไขการประกอบธุรกิจและประกาศหลักเกณฑการประกอบธุรกิจสอดคลองกับทฤษฎีมอบอํานาจใหองคกรฝายบริหารตรวจสัญญาและใหมีการตั้งสมาคมการคาและสมาคมคุมครองผูบริโภค เปนบทบาทของรัฐท่ีย่ืนมือเขาไปพิทักษรักษาผลประโยชนของผูบริโภค2

ซึ่งในตางประเทศก็มีกรณีท่ีรัฐเขามามีบทบาทในการควบคุมธุรกิจรักษาความปลอดภัยเชนกัน จากการศึกษากฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐบริติชโคลัมเบียประเทศแคนาดา (Security Services Act 2007) และ

1อมรรัตน ลัคนหิน. เร่ืองเดียวกัน. หนา 22.2อมรรัตน ลัคนหิน, หนา 67.

Page 111: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

101

กฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐริโซนาประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupations, Chapter 26, Security Guards) ก็ไดมีการกําหนดมาตรการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัย หนาท่ีของผูใหบริการรักษาความปลอดภัยและมาตรการทางกฎหมายเพื่อลงโทษผูกระทําความผิดในการดําเนินธุรกิจรักษาความปลอดภัย3 เชนเดียวกันกับประเทศไทย ท้ังนี้ ก็เพื่อวัตถุประสงคในการคุมครองผูบริโภคและคูสัญญาไมใหไดรับความเสียหายจากการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยดังกลาว

การยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยท่ีจะตองอยูภายใตมาตรการทางกฎหมายการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ผูเขียนจึงเห็นวาเปนการกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจ เน่ืองจากมีผูประกอบการรักษาความปลอดภัยไดรับการยกเวนไมตองปฏิบัติตามมาตรการทางกฎหมายอันเปนการบัญญัติเพื่อดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย มีเพียงระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550ซึ่งหากอางเร่ืองการเปนหนวยงานของรัฐท่ีจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติอ งคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2510 มีฐานะเปนองคการของรัฐเพื่อการกุศล แตมิใชรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ มีวัตถุประสงคเพื่อสงเคราะหทหารผานศึก ครอบครัวทหารผานศึก และทหารนอกประจําการแตก็เปนใหบริการรักษาความปลอดภัยโดยไดคาตอบแทนตามสัญญาจางจึงเปนผูประกอบการธุรกิจรักษาความปลอดภัย ซึ่งผูเขียนไดพบนิยามคําวา “ประกอบการ”ในประมวลรัษฎากร มาตรา77/1 (5) บัญญัติวา “ผูประกอบการ” หมายความวา บุคคลซึ่งขายสินคาหรือใหบริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ไมวาการกระทําดังกลาวจะไดรับประโยชน หรือไดรับคาตอบแทนหรือไม และไมวาจะไดจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มแลวหรือไม”

3รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 33-37.

Page 112: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

102

จากการวิเคราะหขางตนผูเขียนจึงเห็นวาการยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยเปนการกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพราะเมื่อองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมอยูในกลไกมาตรการทางกฎหมายของรัฐเทากับวารัฐไมสามารถเขามามีบทบาทในการควบคุมการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกได

3. ปญหาหนาที่จับกุมผูกระทําความผิดตามกฎหมายของเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย

ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ในการปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ใหพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตมีหนาท่ี ดังตอไปนี้

1) ชวยเหลือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในการจับกุมผูกระทําความผิด

2) รักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของบุคคล รวมท้ังระงับเหตุและรักษาความสงบเรียบรอยภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัยตามขอกําหนดในสัญญาจาง

3) เมื่อมีการกระทําความผิดอาญาหรือนาเชื่อวามีเหตุรายเกิดขึ้นภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัย ตองแจงเหตุนั้นใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจทองท่ีท่ีปฏิบัติหนาท่ีประจําอยูทราบโดยทันที รวมท้ังปดก้ันและรักษาสถานท่ีเกิดเหตุใหคงสภาพเดิมไวจนกวาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูมีอํานาจหนาท่ีจะเดินทางมาถึงสถานท่ีเกิดเหตุ4

ซึ่งจากบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวนอกจากเปนการกําหนดหนาท่ีพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตแลว การกําหนดใหตองชวยเหลือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในการจับกุมผูกระทําความผิดรักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของบุคคล รวมท้ังระงับเหตุและรักษา

4พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 41.

Page 113: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

103

ความสงบเรียบรอยภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัยตามขอกําหนดในสัญญาจาง และเมื่อมีการกระทําความผิดอาญาหรือนาเชื่อวามีเหตุรายเกิดขึ้นภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัย ตองแจงเหตุนั้นใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจทองท่ีท่ีปฏิบัติหนาท่ีประจําอยูทราบโดยทันที รวมท้ังปดก้ันและรักษาสถานท่ีเกิดเหตุใหคงสภาพเดิมไวจนกวาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูมีอํานาจหนาท่ีจะเดินทางมาถึงสถานท่ีเกิดเหตุ เปนการใหอํานาจตามกฎหมายดวยเชนกัน ซึ่งอาจถือเปนเสมือนผูชวยเจาพนักงาน หรือเปนตํารวจนอยนั่นเอง

จากการศึกษาหนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก มีหนาท่ีดังนี้

(1) ตรวจทรัพยสิน อาคารสถานท่ีท่ีรับมอบใหละเอียดถูกตองทุกคร้ังท่ีเขาและออกจากการปฏิบัติหนาท่ีพรอมดวยลงนามรับ – สงมอบไวเปนหลักฐาน และดูแลทรัพยสินตลอดจน สถานท่ีทําการตางๆ ท่ีอยูในพื้นท่ีรับผิดชอบ

(2) ดูแลระวังรักษาทรัพยสิน และอาคารท่ีรับผิดชอบไวอยาใหเกิดอันตรายและสูญหายหรือเสียหาย

(3) รายงานเหตุการณประจําวัน ตอผูบังคับบัญชา หรือเวรของศูนยรักษาความปลอดภัย

(4) ตรวจตราบุคคลท่ีเขาไปในบริเวณกองเก็บสินคา ตูสินคาท่ีรับผิดชอบ หากไมมีหนาท่ี เก่ียวของกับการใชพื้นท่ีดังกลาว ตองแจงบุคคลนั้นทราบ และใหออกไปจากพื้นท่ีบริเวณนั้น กรณีตรวจพบบุคคลท่ีไมมีบัตรอนุญาตฝาฝนเขาไปในพื้นท่ีรับผิดชอบโดยไมมีหนาท่ีเก่ียวของใหดําเนินการควบคุมตัว และแจงผูบังคับบัญชาเพื่อ ดําเนินการตามระเบียบ

(5) หมั่นออกตรวจตราบริเวณตางๆ ในพื้นท่ีรับผิดชอบใหท่ัวถึงอยูเสมอๆเพื่อปองกัน มิใหเกิดการโจรกรรม หรือผูหนึ่งผูใดมาทําอันตรายแกทรัพยสิน

(6) ทําการจับกุมผูเขามาประทุษกรรมตอทรัพยสินหรืออาคาร เมื่อประสพเหตุซึ่งหนา แลวนํามาแจงความใหเจาหนาท่ีตํารวจดําเนินคดีตอไป

(7) หามบุคคลท่ีไมไดรับอนุญาต ใชสาธารณูปโภคของผูวาจาง(8) ปฏิบัติตามระเบียบ คําสั่ง ของผูบังคับบัญชาและตัวแทนผูวาจางอยางเครงครัด

Page 114: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

104

(9) ภารกิจหนาท่ีอื่นๆ ตามท่ีผูวาจางมอบหมาย5

จากการศึกษาหนาท่ีของพนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาตและหนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกไมมีอํานาจหนาท่ีเชนเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตซึ่งจากกรณีดังกลาวยอมมีผลตอคุณสมบัติของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึกในการปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัย เนื่องจากไมมีกฎหมายกําหนดหนาท่ีจับกุมผูกระทําผิดจึงไมมีอํานาจใหกระทําการจับกุมอันเปนการชวยเหลือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได ซึ่งผูเขียนเห็นวาเปนปญหาการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึกในการจับกุมผูกระทําความผิดตามกฎหมาย

4. ปญหาการยกระดับคุณภาพชีวิตของเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย

พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 เปนกฎหมายฉบับแรกท่ีเปนมาตรการทางกฎหมายหมายในการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทยนอกจากเปนการจัดระเบียบผูประกอบการรักษาความปลอดภัยใหมีมาตรฐานทางธุรกิจไปในแนวทางเดียวกันแลว การกําหนดมาตรฐานของอาชีพเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย หรือท่ีตามพระราชบัญญัติฯ ใชคําวา “พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต” นับเปนการยกฐานะทางอาชีพของอาชีพท่ีเคยถูกเรียกวา “ยาม” มาเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตท่ีกฎหมายไดใหการรับรองและควบคุมคุณภาพเปนการสงเสริมอาชีพ ยกระดับคุณภาพงาน และเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของผูทําอาชีพเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ซึ่งผูเขียนจะขออธิบายการวิเคราะหปญหาดังกลาว

5http://www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=67&Itemid=61, (2 พฤษภาคม 2561).

Page 115: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

105

โดยเปรียบเทียบระหวางพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตกับเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ดังนี้

4.1 พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต

พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 บัญญัติใหผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองเปนบริษัท6 ซึ่งเรียกวา “บริษัทรักษาความปลอดภัย”7 ในฐานะนายจางบริษัทรักษาความปลอดภัยมีหนาท่ีตามกฎหมายดังนี้

1) หนาท่ี ตามสัญญาจางแรงงาน จายสินจางเพื่อตอบแทนการทํางานตลอดเวลาท่ีลูกจางทํางานให (หากไมทําไมตองจาย) ยกเวนมีกฎหมายกําหนดใหจาย

2) มีหนาท่ีตามกฎหมายอื่น เชน กฎหมายประกันสังคม ซึ่งสําหรับกฎหมายประกันสังคม8 เปนการสรางหลักประกันสังคมในการดํารงชีวิตในกลุมของสมาชิกท่ีมีรายไดและจายเงินสมทบเขากองทุนประกันสังคมเพื่อรับผิดชอบในการเฉล่ียความเสี่ยงผูประกันตน หมายถึง ลูกจางท่ีมีอายุไมต่ํากวา 15 ป บริบูรณในวันเขาทํางานและทํางานอยูในสถานประกอบการท่ีมีลูกจางตั้งแต 1 คนขึ้นไป อันมีเงินสมทบกองทุนประกันสังคมซึ่งคือเงินท่ีนายจาง ลูกจาง จะตองนําสงเขากองทุนประกันสังคมทุกเดือนหลักเกณฑและสิทธิประโยชน

3) หนาท่ีอื่นๆ เชน สงมอบงานใหลูกจาง ดูแลความปลอดภัย ใหสวัสดิการในการทํางาน หนาท่ีตามหลักกฎหมายละเมิด และกฎหมายคุมครองแรงงาน ปฏิบัติอยางเสมอภาค จายเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน และกองทุนสงเคราะหลูกจาง กรณีลูกจาง 40 คนขึ้นไป ตองรับผิดรวมกับลูกจางตอบุคคลภายนอก สําหรับการทําละเมิดในทางการท่ีจางของลูกจาง ออกใบสําคัญแสดงการทํางานของลูกจางเมื่อสัญญาสิ้นสุด ออกคาเดินทางขากลับจายคาชดเชยเมื่อเลิกจาง คาชดเชยพิเศษกรณีตามกฎหมาย

6พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 16.

7พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 3.8sites.google.com/site/natpatai24456/hnwy-thi6-kdhmay-thi-keiywkhxng-kab-kar-pen-

phu-prakxb-kar, (10 ก.ค. 61).

Page 116: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

106

ผูเขียนเห็นวากรณีสวัสดิการท่ีสําคัญย่ิงสําหรับลูกจางคือสิทธิตามกฎหมายประกันสังคมซึ่งเปนกฎหมายท่ีบัญญัติดานสวัสดิการการรักษาพยาบาลอันเปนการดูแลคุณภาพชีวิต และนอกจากนี้ยังมีเงินสมทบท่ีสามารถเปนเงินออมและใชเปนตนทุนตอนเกษียณอายุได ซึ่งนับเปนสวัสดิการพื้นฐาน

การท่ีพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยบัญญัติใหผูท่ีจะประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยจะตองเปนบริษัทรักษาความปลอดภัย โดยบริษัท หมายความวาบริษัทจํากัดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หรือบริษัทมหาชนจํากัดตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัด9 หนาท่ีตามกฎหมายของบริษัทรักษาความปลอดภัยนายจางท่ีมีตอพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตดังกลาวนับเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของอาชีพเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย

4.2 เจาหนาที่รักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก

สิทธิและสวัสดิการของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึกเนื่องจากองคการสงเคราะหทหารผานศึกเปนหนวยงานของรัฐจึงไมอยูบังคับของกฎหมายประกันสังคม สิทธิและสวัสดิการการรักษาพยาบาลและการเสียชีวิตแกเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยตามระเบียบองคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยกองทุนสวัสดิการเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2547มีสาระสําคัญดังนี้

1) กรณีเจ็บปวย ตองย่ืนคํารองภายใน 90 วัน โดยแบงเปน 3 สาเหตุ คือ(1) สาเหตุท่ัวไป สําหรับเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย คูสมรส และบุตร สามารถ

เบิกไดเปนคร้ังโดยกําหนดอัตราการเบิกคารักษาพยาบาลไดตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงานอยูท่ีอัตรา 1,000-3,000 บาท

9พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 3.

Page 117: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

107

(2) ขณะเดินทางไป-กลับ หรือในระหวางปฏิบัติหนาที่ เบิกไดเฉพาะเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย สามารถเบิกไดเปนคร้ังโดยกําหนดอัตราการเบิกคารักษาพยาบาลไดตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน อยูท่ีอัตรา 2,500 -5,000 บาท

(3) สาเหตุจากการปฏิบัติหนาท่ี เบิกไดเฉพาะเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยสามารถเบิกไดเปนคร้ังโดยกําหนดอัตราการเบิกคารักษาพยาบาลไดตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน อยูท่ีอัตรา 5,000 -30,000 บาท

2) กรณีเสียชีวิต ตองย่ืนคํารองภายใน 180 วัน โดยแบงเปน 3 สาเหตุ คือ(1) สาเหตุท่ัวไป กําหนดอัตราตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน อยูท่ีอัตรา 5,000

- 40,000 บาท(2) ขณะเดินทางไป-กลับ กําหนดอัตราตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงานอยูท่ี

อัตรา 20,000 -60,000 บาท(3) สาเหตุจากการปฏิบัติหนาท่ี กําหนดอัตราตามจํานวนปท่ีเร่ิมปฏิบัติงาน

อยูท่ีอัตรา 50,000 -100,000 บาท

จากการศึกษาพบวาการรับเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกไมไดมีเฉพาะทหารผานศึก หรือทหารปลดประจําการ แตบุคคลธรรมดาท่ีไมเคยผานการเกณฑทหารก็สามารถท่ีจะเขาโรงเรียนฝกของสํานักงานรักษาความปลอดภัย ตามหลักสูตรของสํานักงานรักษาความปลอดภัย และออกมาปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกได ซึ่งหากเปนทหารผานศึกหรือทหารปลดประจําการก็จะสามารถเบิกจายไดตามระเบียบอื่นตามสิทธิของตนยกเวนบุคคลธรรมดาท่ีสมัครเขาเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกซึ่งจะตองใชเบิกสิทธิและสวัสดิการตามระเบียบองคก ารสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยกองทุนสวัสดิการเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2547 และปจจุบันเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยที่เปนทหารผานศึก หรือทหารปลดประจําการมีอัตราลดลงเมื่อเทียบกับสัดสวนของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยท่ีเปนบุคคลธรรมดา สิทธิและสวัสดิการผูเขียนจึงเห็นวาสิทธิและสวัสดิการตามระเบียบภายในขององคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเพียงพอตอคุณภาพ

Page 118: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

108

ชีวิตขั้นพื้นฐานของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ซึ่ง เปนลูกจางองคการสงเคราะหทหารผานศึก

Page 119: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

บทที่ 5บทสรุปและขอเสนอแนะ

1. บทสรุป

ผลของการศึกษาแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ตามรัฐธรรมนูญมีเจตนารมณเพื่อประกันเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การแขงขันทางธุรกิจท่ีเปนธรรม สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ความหมายของคําวา “ธุรกิจ” ซึ่งหมายถึงงานประจําใด ๆก็ตามท่ีไมใชงานราชการและทําเพื่อมุงการคาหากําไร “ธุรกิจบริการ” ทฤษฎีเก่ียวกับบทบาทเขามาควบคุมการประกอบธุรกิจ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมทางการคาและความปลอดภัยในการบริโภค ศึกษาพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ประกาศและกฎกระทรวง ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เร่ือง การยกเวนหนวยงานของรัฐท่ีไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัย ซึ่งเปนมาตรการทางกฎหมายสําหรับการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทย ระเบียบท่ีเก่ียวของกับการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ไดแก ระเบียบสํา นักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550 และระเบียบองคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยกองทุนสวัสดิการเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหททหารผานศึก พ.ศ.2547 รวมท้ังศึกษามาตรการทางกฎหมายสําหรับการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยในตางประเทศ ไดแก กฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐบริติชโคลัมเบียประเทศแคนาดา (Security ServicesAct 2007) และกฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐริโซนาประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupations, Chapter 26, Security Guards) ซึ่งก็ไดมีการกําหนดมาตรการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัย หนาท่ีของผูใหบริการรักษาความปลอดภัยและมาตรการทางกฎหมายเพื่อลงโทษผูกระทําความผิดในการดําเนินธุรกิจ

Page 120: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

110

รักษาความปลอดภัย1เชนเดียวกันกับประเทศไทย ท้ังนี้ ก็เพื่อวัตถุประสงคในการคุมครองผูบริโภค และคูสัญญาไมใหไดรับความเสียหายจากการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยดังกลาว

มีประเด็นปญหาท่ีนาสนใจซึ่งสามารถนํามาใชในการปรับปรุงแกไขปญหาการไดรับยกเวนมาตรการทางกฎหมายในการประกอบธุรกิจ รักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ดังนี้

1. การแขงขันทางธุรกิจท่ีไมเปนธรรม ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยพ.ศ.2558 มาตรา 33 ผูท่ีประสงคจะทําหนาท่ีเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต หรือเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ตองไดรับใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตจากนายทะเบียน กลาวคือจะตองมีการย่ืนคําขอรับใบอนุญาตตอนายทะเบียนในเขตพื้นท่ี ซึ่งไปตามหลักเกณฑวิธีการ และเง่ือนไขท่ีกําหนดในกฎกระทรวง ท้ังนี้ ใบอนุญาตเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตมีอายุสามปนับแตวันท่ีออกใบอนุญาต

เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึก มีระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550ก็มิไดมีกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดเชนเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ท่ีนอกจากจะตองดําเนินการตามขั้นตอน เสนอคณะกรรมการพิจารณา ยังมีกําหนดเวลาของใบอนุญาตท่ีใชไดเปนระยะเวลาสามป จากการกระบวนการขอใบอนุญาตของพนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาตซึ่งมีอายุใบอนุญาตสามป ผูเขียนจึงเห็นวาเปนขอจํากัดของผูประกอบการหรือบริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีจะตองจัดหาพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต และตองเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตท่ีใบอนุญาตยังไมหมดอายุดวย ตางจากองคการสงเคราะหทหารผานศึกท่ีการประกอบธุรกิจสามารถดําเนินการไดโดยไมตอง

1รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 33-37.

Page 121: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

111

กังกลหรือจํากัดดานบุคลากรเนื่องจากไมตองอยูภายใตบังคับพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 กรณีดังกลาวผูเขียนเห็นวาเปนการไดเปรียบทางธุรกิจ

ทายพระราชบัญญัติ ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ .ศ.2558ไดบัญญัติอัตราคาธรรมเนียมไว ซึ่งพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558บัญญัติใหนายกรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัติ โดยจะกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยใหแตกตางกันโดยคํานึงถึงจํานวนพนักงาน รักษาความปลอดภัยรับอนุญาตของบริษัทรักษาความปลอดภัย จึงไดประกาศกฎกระทรวงการกําหนดคาธรรมเนียมเก่ียวกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย และการเปนพนักงา นรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต พ.ศ.2560 ซ่ึงองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมตองจายคาธรรมเนียมใดๆ เนื่องจากไดรับการยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558

2. การกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจมาตรการตามกฎหมายท่ีใหผูประกอบการธุรกิจรักษาความปลอดภัย และเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย จะไดขอใบอนุญาตบริษัทรักษาความปลอดภัย และพนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาตสอดคลองกับทฤษฎีใหองคกรฝายบริหารควบคุมผูประกอบธุรกิจโดยจดทะเบียนและออกใบอนุญาต2 และการกําหนดใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกํากับธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อพิจารณาและกําหนดหลักเกณฑขอปฏิบัติ มีการประกาศหลักเกณฑตามกฎกระทรวงเพื่อกําหนดเง่ือนไขการประกอบธุรกิจและประกาศหลักเกณฑการประกอบธุรกิจสอดคลองกับทฤษฎีมอบอํานาจใหองคกรฝายบริหารตรวจสัญญาและใหมีการตั้งสมาคมการคาและสมาคมคุมครองผูบริโภค เปนบทบาทของรัฐท่ีย่ืนมือเขาไปพิทักษรักษาผลประโยชนของผูบริโภค3 ในตางประเทศก็มีกรณีท่ีรัฐเขามามีบทบาทในการควบคุมธุรกิจรักษาความปลอดภัยเชนกัน จากการศึกษากฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐบริติชโคลัมเบียประเทศแคนาดา (Security Services

2อมรรัตน ลัคนหิน. เร่ืองเดียวกัน. หนา 22.3อมรรัตน ลัคนหิน. หนา 67.

Page 122: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

112

Act 2007) และกฎหมายกํากับดูแลการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยของรัฐริโซนาประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupations, Chapter 26, Security Guards) ก็ไดมีการกําหนดมาตรการกํากับดูแลธุรกิจรักษาความปลอดภัย หนาท่ีของผูใหบริการรักษาความปลอดภัยและมาตรการทางกฎหมายเพื่อลงโทษผูกระทําความผิดในการดําเนินธุรกิจรักษาความปลอดภัย4เชนเดียวกันกับประเทศไทย ท้ังนี้ ก็เพื่อวัตถุประสงคในการคุมครองผูบริโภค และคูสัญญาไมใหไดรับความเสียหายจากการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยดังกลาว

การยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยท่ีจะตองอยูภายใตมาตรการทางกฎหมายการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ผูเขียนจึงเห็นวาการยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยเปนการกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจรักษาความปลอดภัย ของรัฐเทากับวารัฐไมสามารถเขามามีบทบาทในการควบคุมการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกตามกลไกมาตรการทางกฎหมายได

3. หนาท่ีจับกุมผูกระทําความผิดตามกฎหมายของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558มีการกําหนดใหพนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาตตองชวยเหลือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในการจับกุมผูกระทําความผิดรักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของบุคคล รวมท้ังระงับเหตุและรักษาความสงบเรียบรอยภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัยตามขอกําหนดในสัญญาจาง และเมื่อมีการกระทําความผิดอาญาหรือนาเชื่อวามีเหตุรายเกิดขึ้นภายในบริเวณหรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัย ตองแจงเหตุนั้นใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจทองท่ีท่ีปฏิบัติหนาท่ีประจําอยูทราบโดยทันที รวมท้ังปดก้ันและรักษาสถานท่ีเกิดเหตุใหคงสภาพเดิมไวจนกวาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูมีอํานาจหนาท่ีจะเดินทางมาถึงสถานท่ีเกิดเหตุ เปนการใหอํานาจตามกฎหมายดวยเชนกัน ซึ่งอาจถือเปนเสมือนผูชวยเจาพนักงาน หรือเปนตํารวจนอยนั่นเอง ซึ่ง

4รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. เร่ืองเดียวกัน. หนา 33-37.

Page 123: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

113

เจาหนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกไมมีอํานาจหนาท่ีเชนเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตซึ่งจากกรณีดังกลาวยอมมีผลตอการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึกในการปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัย เนื่องจากไมมีกฎหมายกําหนดหนาท่ีจับกุมผูกระทําผิด จึงไมมีอํานาจใหกระทําการจับกุมอันเปนการชวยเหลือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได

4. การยกระดับคุณภาพชีวิตของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 บัญญัติใหผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองเปนบริษัท5 ซึ่งเรียกวา “บริษัทรักษาความปลอดภัย”6 ในฐานะนายจางบริษัทรักษาความปลอดภัยมีหนาท่ีตามกฎหมาย ผูเขียนมีความเห็นวากรณีสวัสดิการท่ีสําคัญย่ิงสําหรับลูกจาง คือ สิทธิตามกฎหมายประกันสังคมซึ่งเปนกฎหมายท่ีบัญญัติดานสวัสดิการการรักษาพยาบาลอันเปนการดูแลคุณภาพชีวิต และนอกจากนี้ยังมีเงินสมทบท่ีสามารถเปนเงินออมและใชเปนตนทุนตอนเกษียณอายุได นับเปนสวัสดิการพื้นฐาน แตเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก มีสิทธิและสวัสดิการของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก ไดรับสิทธิและสวัสดิการตามระเบียบขององคการสงเคราะหทหารผานศึก เนื่องจากองคการสงเคราะหทหารผานศึกเปนหนวยงานของรัฐจึงไมอยูบังคับของกฎหมายประกันสังคม สิทธิและสวัสดิการการรักษาพยาบาลและการเสียชีวิตแกเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยตามระเบียบองคการสงเคราะหทหารผานศึกวาดวยกองทุนสวัสดิการเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2547

5พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 16.

6พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 3.

Page 124: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

114

2. ขอเสนอแนะ

จากการศึกษาดังกลาวขางตนผูเขียนเห็นวา เพื่อเปนการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยมีการแขงขันทางการคาท่ีอยางเปนธรรม รัฐสามารถมีบทบาทในการควบคุมธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อคุมครองผูบริโภคผานกลไกทางกฎหมาย เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยสามารถปฏิบัติหนาท่ีในการจับกุมผูกระทําความผิดไดตามกฎหมายและเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยมีคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานท่ีเทาเทียม จึงขอเสนอแนะ ในประเด็นตางๆ ดังนี้

1. ประเด็นการแขงขันทางธุรกิจท่ีไมเปนธรรมจากการกระบวนการขอใบอนุญาตของพนักงานรักษาความปลอดภัยอนุญาต

ซึ่งมีอายุใบอนุญาตสามปตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558ผูเขียนจึงเห็นวาเปนขอจํากัดของผูประกอบการหรือบริษัทรักษาความปลอดภัยท่ีจะตองจัดหาพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต และตองเปนพนักงานรักษาความปลอดภัย รับอนุญาตท่ีใบอนุญาตยังไมหมดอายุดวย ตางจากองคการสงเคราะหทหารผานศึกท่ีการประกอบธุรกิจสามารถดําเนินการไดโดยไมตองกังกลหรือจํากัดดานบุคลากรเนื่องจากไมตองอยูภายใตบังคับพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 อีกท้ังการทําธุรกิจยอมตองมีคาใชจายเปนตนทุน ซึ่งบริษัทรักษาความปลอดภัยจะตองจายคาธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 แตองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมตองจายคาธรรมเนียมใดๆ เนื่องจากไดรับการยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 เทากับไมตองมีคาใชจายสวนนี้ ซึ่งกรณีดังกลาวผูเขียนเห็นวาเปนการไดเปรียบทางธุรกิจ เปนการแขงขันการคาท่ีไมเปนธรรม ดังนั้นจึงควรใหองคการสงเคราะหทหารผานศึกมีขั้นตอนกระบวนการในการตรวจสอบบุคคลท่ีจะมาเปนเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย และมีการกําหนดอายุสามป เพื่อใหเขาสูกระบวนการตรวจสอบตามชวงเวลาสามปเชนเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต และใหองคการสงเคราะหทหารผานศึกและเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยของ

Page 125: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

115

องคการสงเคราะหทหารผานศึกเสียคาธรรมเนียมเชนเดียวกับบริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงานรักษาความปลอดภัยผูอนุญาตดวย เพื่อการแขงขันทางธุรกิจท่ีเปนธรรม

2. ประเด็นการกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจการยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัย

ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยซึ่งเปนมาตรการทางกฎหมายสําหรับการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัย ผูเขียนจึงเห็นวาการยกเวนองคการสงเคราะหทหารผานศึกไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยเปนการกระทบตอบทบาทของรัฐในการควบคุมธุรกิจรักษาความปลอดภัย ของรัฐเทากับวารัฐไมสามารถเขามามีบทบาทในการควบคุมการทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยขององคการสงเคราะหทหารผานศึกตามกลไกมาตรการทางกฎหมายได ดังนั้น จึงควรใหองคการสงเคราะหทหารผานศึกทําธุรกิจรักษาความปลอดภัยภายใตพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 เชนเดียวกับผูประกอบการเอกชน โดยผูเขียนมีขอเสนอแนะดังนี้

1) เสนอแกไขพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558บทนิยามตามมาตรา3จากเดิม “ธุรกิจรักษาความปลอดภัย” หมายความวา ธุรกิจใหบริการรักษาความ

ปลอดภัยโดยจัดใหมีพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตทําหนาท่ีคุมครองความปลอดภัยในชีวิต รางกาย หรือทรัพยสินของบุคคล โดยไดรับเงินหรือประโยชนตอบแทนอื่นใด แตไมรวมถึงการใหบริการรักษาความปลอดภัยโดยหนวยงานของรัฐตามท่ีนายกรัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา

แกไขเปน “ธุรกิจรักษาความปลอดภัย” หมายความวา ธุรกิจใหบริการรักษาความปลอดภัยโดยจัดใหมีพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตทําหนาท่ีคุมครองความปลอดภัยในชีวิต รางกาย หรือทรัพยสินของบุคคล โดยไดรับเงินหรือประโยชนตอบแทนอื่นใด

กลาวคือไมตองเขียนยกเวนหนวยงานของรัฐท่ีทําธุรกิจใหบริการรักษาความปลอดภัย2) การออกประกาศหรือกฎกระทรวง ยกเวนหนวยงานของรัฐ หรือองคการสงเคราะห

ทหารผานศึกเฉพาะท่ีไมสามารถปฏิบัติตามความในพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัยได อาทิ กรณีเคร่ืองแตงกายท่ี พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ไดบัญญัติหามแตงกายคลายทหาร ตํารวจ ซึ่งหากไมกําหนดยกเวนขอกําหนด

Page 126: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

116

ดังกลาว เคร่ืองแบบของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึกยอมไมสามารถใชได แตหากจะเปล่ียนเคร่ืองแบบก็ยอมสงผลดานการบริการจัดการและดานการเงินขององคการทหารผานศึก และเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยผูปฏิบัติงานเปนอยางมาก

3. ประเด็นหนาท่ีจับกุมผูกระทําความผิดตามกฎหมายของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย

เพื่อใหเจาหนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกมีอํานาจใหกระทําการจับกุมอันเปนการชวยเหลือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเชนเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 จะไดไมมีผลตอการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึกใ นการปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัย ดังนั้น จึงควรยกเลิกประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเร่ืองยกเวนหนวยงานของรัฐไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 เพื่อใหเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึกทํามีอํานาจตามความในพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558เชนเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต

4. ประเด็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 บัญญัติใหผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยตองเปนบริษัท7 ซึ่งเรียกวา “บริษัทรักษาความปลอดภัย”8 ในฐานะนายจางบริษัทรักษาความปลอดภัยมีหนาท่ีตอลูกจางตามกฎหมายประกันสังคม ซึ่งเปนกฎหมายท่ีบัญญัติดานสวัสดิการการรักษาพยาบาลอันเปนการดูแลคุณภาพชีวิต และนอกจากนี้ยังมีเงินสมทบ ท่ีสามารถเปนเงินออมและใชเปนตนทุนตอนเกษียณอายุได นับเปนสวัสดิการพื้นฐาน แตเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหาร ผานศึก มีสิทธิและสวัสดิการของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยองคการสงเคราะหทหารผานศึก ไดรับสิทธิ

7พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558. มาตรา 16.

8พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558. มาตรา 3.

Page 127: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

117

และสวัสดิการตามระเบียบขององคการสงเคราะหทหารผานศึก เนื่องจากองคการสงเคราะหทหารผานศึกเปนหนวยงานของรัฐจึงไมอยูบังคับของกฎหมายประกันสังคมสิทธิและสวัสดิการการรักษาพยาบาลและการเสียชีวิตแกเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยตามระเบียบองคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยกองทุนสวัสดิการเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2547 ซึ่งไมเพียงพอตอคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย และเห็นวาเมื่อมีการยกระดับมาตรฐานทางอาชีพแลว ก็ควรยกระดับคุณภาพชีวิตใหเทาเทียม ดังนั้น จึงควรยกเลิกประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเร่ือง ยกเวนหนวยงานของรัฐไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ .ศ.2558 และมีประกาศหรือออกกฎกระทรวงกรณีการกําหนดมาตรฐานสิทธิและสวัสดิการผูประกอบอาชีพพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตเพื่อกําหนดเปนมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากเปนอาชีพพิเศษท่ีมีหนาท่ีดูแลปกปองชีวิตและทรัพยสินของบุคคลอื่น ซึ่งผูเขียนเห็นวาหากจะมีการยกระดับมาตรฐานอาชีพเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ก็ควรเร่ิมจากการยกระดับคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานดานประกันสังคม

Page 128: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

บรรณานุกรม

เอกสารภาษาไทยหนังสือชาญชัย แสวงศักดิ์. คําอธิบายกฎหมายปกครอง. พมิพคร้ังท่ี 20. กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพวิญูชน 2556.

ไชยยศ เหมะรัชตะ. กฎหมายวาดวยสัญญา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2535.

ดาราพร ถิระวัฒน. กฎหมายสัญญา : สถานะใหมของสัญญาปจจุบันและปญหาขอสัญญาที่ไมเปนธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2538.

สุธาบดี สัตตบุศย. คําอธิบายกฎหมายแพงและพาณิชยเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร :แผนกวิชานิติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2522.

สุษม ศุภนิตย. คําอธิบายการจัดจําหนายในระบบขายตรงและการทําตลาดแบบสงขอมูลถึงตัวผูบริโภคโดยตรง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเดือนตุลา, 2547.

บทความพ.ต.ท.ดร.ขวัญชัย อัตโณ,วาท่ี ร.ท.ดร.เจนรบ พละเดช. “การยกระดับมาตรฐานธุรกิจ

รักษาความปลอดภัย : อํานาจหนาท่ีและความรับผิดของพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต.” วารสารคณะรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร.มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2, 1 (มกราคม - มิถุนายน 2560).

สุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์. “สัญญาสําเร็จรูปของอังกฤษ.” วารสารนิติศาสตร 15 มีนาคม 2528.

Page 129: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

119

วิทยานิพนธทัศนีย วีระกันต. “การดําเนินการคุมครองผบูริโภค : ศึกษากรณีศูนยรับเร่ืองราวรองทุกข

มูลนิธิเพื่อผูบริโภค.” วิทยานิพนธพัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต.คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541.

ไพฑูรย หอมสุวรรณ. “มาตรการทางกฎหมายในการคุมครองผูบริโภค ศึกษากรณีผูใชบริการนวดและสปาเพื่อสุขภาพ.” วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเกริก, 2555.

รอยตํารวจโท หัสชัย พรมงาม. “ปญหาทางกฎหมายเก่ียวกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย.” วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2560.

สุมาลี สุขอราม. “การประยุกตใชพุทธจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ :กรณีศึกษาบริษัทแฟร่ีแลนด จํากัด.” วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบันฑิตมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554.

อมรรัตน ลัคนหิน. “การคุมครองผูบริโภคในดานสัญญาซ้ือขายสังหาริมทรัพยที่มีเงื่อนไขเก่ียวกับการโอนกรรมสิทธ์ิ.” วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2526.

อรปภา คุมพูล. “การพัฒนารูปแบบการบริหารองคกรธุรกิจรักษาความปลอดภัย.”ดุษฎีนิพนธ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2558.

กฎหมายพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558.พระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2560.พระราชบัญญัติองคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2560.

Page 130: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

120

ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสคณะผูเขารับการอบรม กลุมท่ี 5.หลักสูตร นักบริหารกิจการยุติธรรม:มาตรการในการแกไขปญหา

คอรรัปชั่น, มาตรการในกระบวนการบังคับใชกฎหมายเชิงบูรณาการ เสนอ สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม. http://www.oja.go.th, (16 ธันวาคม 2560).

ทิศทางการใหบริการของธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุท่ีสอดคลองกับความตองการของผูท่ีจะกาวเขาสูวัยผูสูงอายุ, หนา 7-10, http://tpso3.m-society.go.th/index.php/en/2017-05-16-15-07-24/2017-04-23-08-53-28/38-2017-09-18-06-31-27 (15 พฤษภาคม 2561).

บทความท่ี 7 การบังคับใชกฎหมาย และการยกเลิกกฎหมาย, 2552.http://politics-03.blogspot.com/2009/01/7-1.html (2 เมษายน 2561)

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, www.royin.go.th/dictionary,(1 พฤษภาคม 2561).

วิกิพีเดีย, https://th.wikipedia.org/wiki/,(2 พฤษภาคม 2561).

สุเทพ เอี่ยมคง, จเร พันธุเปร่ือง. สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย. เขาถึงไดจากhttp://wiki.kpi.ac.th/index.php?title.

สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก,http://www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=53&Itemid=89 , (2 พฤษภาคม 2561).

สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึกhttp://www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=54&Itemid=88 (2 พฤษภาคม 2561)

Page 131: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

121

สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ขอสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย.

... http://www.senate.go.th/bill/bk_data/158-5.pdf (15 พฤษภาคม 2561).

สภานิติบัญญัติแหงชาติ, เอกสารประกอบการพิจารณารางพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. (คณะรัฐมนตรีเปนผูเสนอ) บรรจุระเบียบวาระการประชุมสภานิติบัญญัติแหงชาติ, คร้ังท่ี 24/2558, หนา กhttp://www.senate.go.th/document/search0.php (15 พฤษภาคม 2561).

องคการสงเคราะหทหารผานศึก. https://th.wikipedia.org/wiki/ (2 พฤษภาคม 2561).

องคการสงเคราะหทหารผานศึก.http://www.thaiveterans.mod.go.th/new_v2/ history.html, (10 ก.ค. 61)

http://www.rd.go.th/publish/833.0.html, (17 พฤษภาคม 2561).

http://www.rd.go.th/publish/834.0.html, (17 พฤษภาคม 2561).

http://www.rd.go.th/publish/835.0.html, (17 พฤษภาคม 2561).

http //www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=54&Itemid=88 (1 พฤษภาคม 2561).

http:// www.security.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=67&Itemid=61, (2 พฤษภาคม 2561).

https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1728

sites.google.com/site/natpatai24456/hnwy-thi6-kdhmay-thi-keiywkhxng-kab-kar-pen-phu-prakxb-kar, (10 ก.ค. 61).

Page 132: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

122

เอกสารอ่ืนๆกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมเก่ียวกับการประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยและ

การเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต พ.ศ. 2560, ราชกิจจานุเบกษาหนา 28 เลม 134 ตอนท่ี 55 ก ลงวันท่ี 21 เมษายน 2560.

นายพงษธวัฒน บุญพิทักษ. วิทยากร สํานักกฎหมาย สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร (14 มิ.ย. 61).

ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี. “กําหนดหนวยงานของรัฐท่ีไมเปนธุรกิจรักษาความปลอดภัยตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558.”ราชกิจจานุเบกษา, เลม 133, ตอนพิเศษ 182 ง, ลงวันท่ี 19 สิงหาคม 2559(31 สิงหาคม 2560).

ระเบียบสํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก วาดวยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย สํานักงานรักษาความปลอดภัย องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.2550.

Page 133: ป ญหาการทําธุรกิจรักษาความ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2561/F_Chonrapat... · 2019-02-05 · ป ญ หาการ ... วานิช

123

ประวัติผูเขียน

ชื่อ – สกุล นางสาวชลภัสร งอกนาวัง

วัน เดือน ปเกิด 22 พฤศจิกายน พ.ศ.2525

สถานท่ีเกิด เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

ประวัติการศึกษาปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามคําแหงปการศึกษา 2550

ตําแหนงหนาท่ีปจจุบัน นักจัดการงานท่ัวไปชํานาญการ

ศูนยวิทยบริการศาลยุติธรรมสํานักงานศาลยุติธรรม